สภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาปี่พาทย์มอญเบื้องต้นสำหรับครูดนตรี สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Issued Date
2567
Copyright Date
2561
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ซ, 127 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561
Suggested Citation
นุชสรา พิณพาทย์ สภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาปี่พาทย์มอญเบื้องต้นสำหรับครูดนตรี สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา . สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91842
Title
สภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาปี่พาทย์มอญเบื้องต้นสำหรับครูดนตรี สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Alternative Title(s)
Current instructional practices of introduction to Pi Phat Mon for music teachers, music education, Faculty of Education, Burapha University
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีจุดประสงค์เพื่อทราบถึงสภาพการจัดการเรียน การสอนรายวิชาปี่พาทย์มอญเบื้องต้นสาหรับครูดนตรี สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยศึกษาจากการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการและใช้วิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้สอนรายวิชาปี่พาทย์มอญเบื้องต้นสำหรับครูดนตรี จำนวน 2 ท่าน และนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาปี่พาทย์มอญเบื้องต้นสาหรับครูดนตรี ในปีการศึกษา 2560 จำนวน 15 คน ใช้เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบเครื่องมือวิจัยโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า สามารถสรุปประเด็นที่สำคัญในการวิจัยได้ 4 ประเด็น ดังนี้ 1) ผู้สอนมีประสบการณ์ทางดนตรีปี่พาทย์มอญทั้งด้านการแสดงดนตรีวงปี่พาทย์มอญ และประสบการณ์ในการสอนดนตรี โดยผู้สอนเป็นผู้ออกแบบการจัดการเรียนการสอนเป็นสำคัญและมีความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของผู้สอน 2) ผู้เรียนมีพื้นฐานทางด้านดนตรีปี่พาทย์มอญที่แตกต่างกัน ผู้เรียนเครื่องมือเอกปี่พาทย์มีความถนัดและสามารถเรียนรู้ในรายวิชาปี่พาทย์มอญเบื้องต้นสาหรับครูดนตรีได้เป็นอย่างดี ในขณะที่ผู้เรียนเครื่องมือเอกเครื่องสายและเครื่องมือเอกขับร้องเพลงไทยเดิม ต้องอาศัยวิธีการฝึกปฏิบัติซ้ำ ๆ เพื่อช่วยในการท่องจำบทเพลงและเทคนิควิธีการบรรเลงให้เกิดความชำนาญ 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้ มีการกำหนดไว้เป็นแบบกลุ่มทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติเครื่องดนตรีปี่พาทย์มอญ ผู้สอนเป็นผู้กำหนดบทเพลงในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทั้งบทเพลง พิธีกรรม เพลงเกร็ด เพลงเบ็ดเตล็ด สำหรับวงปี่พาทย์มอญให้กับผู้เรียน 4) การวัดและประเมินผล กำหนดให้มีการประเมินผลภาคเรียนละ 2 ครั้ง ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่มโดยใช้เกณฑ์การประเมินผู้เรียนแบบอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม นอกจากนี้การจัดการเรียนการสอนรายวิชา ปี่พาทย์มอญเบื้องต้นสำหรับครูดนตรี ต้องคำนึงถึงการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในพัฒนาการเรียนการสอน ที่เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพครูโดยเฉพาะ
The objective of this qualitative research was to study the current instructional practices of introduction to PI PHAT MON for music teachers, Music Education, Faculty of Education, Burapha university. Data were collected through informal interview with 2 PI PHAT MON teachers in the Music Education, Faculty of Education and 15 students who registered in PI PHAT MON for music teachers in 2017 semister. Samples were selected using purposive sampling. Research results were: 1) The teachers had experience in PI PHAT MON performance and a hight expertise in music teaching. The teachers designed learning activities, and they had personal and professional identity. 2) Students had diverse backgrounds concerning music skills. Most students with PI PHAT's major studied and observed skill easily, while students with stringed instruments's major used to repeat rehearsal skill for several time, which was the ways to help them remember and give an instrumental performance. 3) Specification learning activities were divided into both theories and practices. Many kinds of music were decided by teachers for their students. 4) The assessment and evaluation were scheduled for two times per semesters, and there were single and group assessment criteria for learners. In addition, the first program of Pi Phat Mon for music teachers should take into account the use of knowledge for the development of teaching and learning that will provide more benefits to teachers.
The objective of this qualitative research was to study the current instructional practices of introduction to PI PHAT MON for music teachers, Music Education, Faculty of Education, Burapha university. Data were collected through informal interview with 2 PI PHAT MON teachers in the Music Education, Faculty of Education and 15 students who registered in PI PHAT MON for music teachers in 2017 semister. Samples were selected using purposive sampling. Research results were: 1) The teachers had experience in PI PHAT MON performance and a hight expertise in music teaching. The teachers designed learning activities, and they had personal and professional identity. 2) Students had diverse backgrounds concerning music skills. Most students with PI PHAT's major studied and observed skill easily, while students with stringed instruments's major used to repeat rehearsal skill for several time, which was the ways to help them remember and give an instrumental performance. 3) Specification learning activities were divided into both theories and practices. Many kinds of music were decided by teachers for their students. 4) The assessment and evaluation were scheduled for two times per semesters, and there were single and group assessment criteria for learners. In addition, the first program of Pi Phat Mon for music teachers should take into account the use of knowledge for the development of teaching and learning that will provide more benefits to teachers.
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล