The development of an Intelligent Travel Technology Assessment Model (ITTAM)
Issued Date
2019
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 161 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Noppadol Phaosathianphan The development of an Intelligent Travel Technology Assessment Model (ITTAM). Thesis (Ph.D. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92226
Title
The development of an Intelligent Travel Technology Assessment Model (ITTAM)
Alternative Title(s)
การพัฒนาแบบจำลองการประเมินเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะ
Author(s)
Abstract
The objective of this study was to develop an assessment model of intelligent travel technology which includes two groups of antecedent variables, namely external factors (Ease of Use, Trust, Enjoyment, Design) and belief factors (Usefulness, Quality, Safety and Empathy), and two groups of psychology variables, namely function factors (Pre-Trip, On- Route, On-Site and Post-Trip) and feeling factors (Satisfaction and Intention to Use). These factors would influence the user acceptance and perception of destination impacts that include three variables, namely Competitiveness, Loyalty and Sustainability. According to an indepth review, essential theories include travel, tourism, VPA, IPA, AI, IoT, DIT, TAM, UTAUT, IS Success Model, IS Continuance Model, Human-Computer Interaction, Socio- Technical System and so on. These theories were used to formulate the research model then transformed it into the research hypothesizes and produced an online questionnaire that was surveyed via social media platforms such as Facebook and Line. The collected data was 400 voluntary respondents which were analysed with descriptive statistics such as percentage and standard deviation (S.D.) by PASW Statistics v.18.0.0 and inferential statistics such as measurement model and structural model by SmartPLS v.3.2.8. Therefore, this study aids in understanding the factors and psychology process influencing user acceptance and perception toward destination impacts of using intelligent travel technology. Finally, the results of this research could apply to design and implementation of intelligent travel technology, and also thoroughly assess the technology acceptance and perception of destination impacts.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อการพัฒนาแบบจำลองการประเมินเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะ ที่ประกอบด้วยปัจจัยนำเข้า 2 กลุ่มตัวแปร ได้แก่ ปัจจัยภายนอก (ใช้งานง่าย, เชื่อใจได้, สนุกสนาน และ การออกแบบ) และ ปัจจัยความเชื่อ (ประโยชน์การใช้งาน, มีคุณภาพ, ความปลอดภัย และ ความเข้าอกเข้าใจ) และ 2 กลุ่มขบวนการจิตวิทยา ได้แก่ ปัจจัยรูปแบบการใช้งาน (ก่อนการเดินทาง, ระหว่างการเดินทาง, อยู่ในสถานที่ท่องเที่ยวและ หลังจากการเดินทาง) และ ปัจจัยความรู้สึก (ความพึงพอใจ และ ความตั้งใจที่จะใช้งาน) โดย ปัจจัยเหล่านั้น จะส่งอิทธิพลต่อการยอมรับของผู้ใช้งาน และ การรับรู้ถึงผลกระทบของจุดหมายปลายทาง ที่ประกอบด้วย3 ปัจจัย ได้แก่ ความสามารถในการแข่งขัน, ความจงรักภักดี และ ความยั่งยืน จากการทบทวนวรรณอย่างที่มีสำคัญลึกซึ้ง ประกอบด้วยการเดินทาง, การท่องเที่ยว, แอปพลิเคชันเสมือนผู้ช่วยส่วนตัว, แอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ, เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์, เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง, ทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม, โมเดลการยอมรับการใช้เทคโนโลยี, โมเดลการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี, โมเดลความสำเร็จของระบบสารสนเทศ, โมเดลการใช้งานระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง, ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์, ทฤษฎีระบบสังคมและเทคนิค เป็นต้น ทฤษฎีเหล่านั้นถูกนำมาสร้างเป็นแบบจำลองการวิจัยแล้วนำกำหนดเป็นสมมติฐานและสร้างแบบสอบถามออนไลน์ด้วยกูเกิลฟอร์ม สำรวจผ่านแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ เฟซบุ๊กและไลน์ ข้อมูลที่เก็บมาได้มีผู้สมัครใจตอบแบบสอบถามทั้งหมด 400 คน ใช้วิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้วยโปรแกรม PASW Statistics v.18.0.0 และ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมาน ได้แก่ โมเดลการวัด และ โมเดลสมการโครงสร้าง ด้วยโปรแกรม SmartPLS v.3.2.8 ซึ่งการศึกษาช่วยให้ทราบปัจจัย และ ขบวนการจิตวิทยา ที่มีผลต่อการยอมรับของผู้ใช้งาน และ การรับรู้ต่อผลกระทบของจุดหมายปลายทางจากการใช้งานเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะสุดท้ายนี้ ผลของงานวิจัยสามารถนำไปปรับใช้สำหรับ การออกแบบ และ การพัฒนางานเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะ และ ยังรวมไปถึงการประเมินการความรู้สึกต่อการยอมรับการใช้งาน และ การรับรู้ต่อผลกระทบของสถานที่ จุดหมายปลายทางจากการใช้งานเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อการพัฒนาแบบจำลองการประเมินเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะ ที่ประกอบด้วยปัจจัยนำเข้า 2 กลุ่มตัวแปร ได้แก่ ปัจจัยภายนอก (ใช้งานง่าย, เชื่อใจได้, สนุกสนาน และ การออกแบบ) และ ปัจจัยความเชื่อ (ประโยชน์การใช้งาน, มีคุณภาพ, ความปลอดภัย และ ความเข้าอกเข้าใจ) และ 2 กลุ่มขบวนการจิตวิทยา ได้แก่ ปัจจัยรูปแบบการใช้งาน (ก่อนการเดินทาง, ระหว่างการเดินทาง, อยู่ในสถานที่ท่องเที่ยวและ หลังจากการเดินทาง) และ ปัจจัยความรู้สึก (ความพึงพอใจ และ ความตั้งใจที่จะใช้งาน) โดย ปัจจัยเหล่านั้น จะส่งอิทธิพลต่อการยอมรับของผู้ใช้งาน และ การรับรู้ถึงผลกระทบของจุดหมายปลายทาง ที่ประกอบด้วย3 ปัจจัย ได้แก่ ความสามารถในการแข่งขัน, ความจงรักภักดี และ ความยั่งยืน จากการทบทวนวรรณอย่างที่มีสำคัญลึกซึ้ง ประกอบด้วยการเดินทาง, การท่องเที่ยว, แอปพลิเคชันเสมือนผู้ช่วยส่วนตัว, แอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ, เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์, เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง, ทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม, โมเดลการยอมรับการใช้เทคโนโลยี, โมเดลการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี, โมเดลความสำเร็จของระบบสารสนเทศ, โมเดลการใช้งานระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง, ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์, ทฤษฎีระบบสังคมและเทคนิค เป็นต้น ทฤษฎีเหล่านั้นถูกนำมาสร้างเป็นแบบจำลองการวิจัยแล้วนำกำหนดเป็นสมมติฐานและสร้างแบบสอบถามออนไลน์ด้วยกูเกิลฟอร์ม สำรวจผ่านแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ เฟซบุ๊กและไลน์ ข้อมูลที่เก็บมาได้มีผู้สมัครใจตอบแบบสอบถามทั้งหมด 400 คน ใช้วิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้วยโปรแกรม PASW Statistics v.18.0.0 และ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมาน ได้แก่ โมเดลการวัด และ โมเดลสมการโครงสร้าง ด้วยโปรแกรม SmartPLS v.3.2.8 ซึ่งการศึกษาช่วยให้ทราบปัจจัย และ ขบวนการจิตวิทยา ที่มีผลต่อการยอมรับของผู้ใช้งาน และ การรับรู้ต่อผลกระทบของจุดหมายปลายทางจากการใช้งานเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะสุดท้ายนี้ ผลของงานวิจัยสามารถนำไปปรับใช้สำหรับ การออกแบบ และ การพัฒนางานเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะ และ ยังรวมไปถึงการประเมินการความรู้สึกต่อการยอมรับการใช้งาน และ การรับรู้ต่อผลกระทบของสถานที่ จุดหมายปลายทางจากการใช้งานเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะ
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2019)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University