Ecological factors influencing overweight status among primary school children in Bangkok : a case-control study
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 226 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (D.N.S. (Nursing))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Benchaporn Sukprasert Ecological factors influencing overweight status among primary school children in Bangkok : a case-control study. Thesis (D.N.S. (Nursing))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91654
Title
Ecological factors influencing overweight status among primary school children in Bangkok : a case-control study
Alternative Title(s)
อิทธิพลของปัจจัยเชิงนิเวศวิทยาต่อภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนระดับชั้นประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร : การศึกษาแบบกลุ่มศึกษา-เปรียบเทียบ
Author(s)
Abstract
Childhood overweight and obesity are a major public health problem in Thailand and Bangkok has the most prevalence. This case-control study aimed to identify the ecological factors associated with overweight status among primary school children in the 4th-6th grade. Study participants included 510 children and 52 class teachers in 4 public and 2 private primary schools. Data were collected using a structured self-administered questionnaire with all participants, descriptive statistics, Mann-Whitney U test, Chi-square test, univariate and multiple logistic regression analysis were used to analyze data. Univariate analysis showed that several factors (positively) significantly associated with overweight status among the children, these included; boys, perceived self-body image larger than average/large, daily school pocket money ≥ 50 baht, cognitive eating behaviors with routine restraint and compensatory restraint, paternal and maternal body image overweight and obesity. Parenting practices with autonomy support was (negatively) significantly associated with overweight status among the children (p<0.05). In a multivariate model, the male factor (being a boy) (aOR 3.13; 1.80-5.44) and perceived self-body image larger than average/large (aOR 45.74; 17.91-116.83) had higher risk of overweight status (p<0.05). Meanwhile, parenting practices with high coercive control (aOR 0.23; 0.09-0.62) and moderate/high autonomy support (aOR 0.44; 0.19-0.99 and aOR 0.28; 0.11-0.71, respectively) proved to be a protector factor against overweight status (p<0.05). All the four factors could explain 58% of the variance in overweight status among primary school children. These findings indicate that individual and family environmental factors were the best predictors for overweight status among the children and therefore, the health care system should develop effective and comprehensive strategies that promote healthy behaviors to control weight among primary school children taking into consideration the difference in gender, social and home environments
ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยและกรุงเทพมหานครมีความชุกมากที่สุด การศึกษาแบบกลุ่มศึกษา-เปรียบเทียบครั้งนี้เพื่อค้นหาปัจจัยเชิงนิเวศวิทยาที่มีความสัมพันธ์กับภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ถึง 6 ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นเด็กวัยเรียน จำนวน 510 คนและ ครูประจำชั้นจำนวน 52 คน จากโรงเรียนปฐมศึกษาของรัฐบาล 4 แห่งและเอกชน 2 แห่ง เก็บข้อมูลโดยผู้เข้าร่วมการวิจัยทุกคนตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ใช้สถิติเชิงบรรยาย สถิตินอนพาราเมตริก การทดสอบไคสแคว์ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบลอจิสติคทีละตัวแปรและหลายตัวแปรในการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ถดถอยพหุแบบลอจิสติคทีละตัวแปรพบว่าหลายปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ (ทางบวก) กับภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียน ได้แก่ เด็กผู้ชาย การรับรู้รูปร่างตนเองว่าค่อนข้างใหญ่และใหญ่ ได้รับเงินไปโรงเรียนวันละ50บาทขึ้นไป การรับรู้ในการปฏิบัติต่อการจำกัดและทดแทนการกินอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก รูปร่างของพ่อแม่ที่ค่อนข้างอ้วนและอ้วนและปัจจัยการเลี้ยงดูของพ่อแม่ในการสนับสนุนการตัดสินใจด้วยตนเองของบุตรมีความสัมพันธ์ (ทางลบ) กับ ภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียน (p<0.05) ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบลอจิสติคหลายตัวแปร พบว่าปัจจัยเพศชาย (เด็กผู้ชาย) (aOR 3.13; 1.80-5.44) และการรับรู้รูปร่างตนเองว่าค่อนข้างใหญ่และใหญ่ (aOR 45.74; 17.91-116.83) มีโอกาสเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักเกิน (p<0.05) ส่วนการเลี้ยงดูของพ่อแม่ที่มีการบังคับสูง (aOR 0.23; 0.09-0.62) และการสนับสนุนการตัดสินใจด้วยตนเองของบุตรในระดับปานกลางและสูง (aOR 0.44; 0.19-0.99 และ aOR 0.28; 0.11-0.71 ตามลา ดับ) เป็นปัจจัยป้องกันการเกิดภาวะน้าหนักเกินในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา (p<0.05) โดยปัจจัยทั้ง 4 ตัวนี้ สามารถร่วมกันทำนายโอกาสของการเกิดภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้ 58% การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงปัจจัยบุคคลและสิ่งแวดล้อมของครอบครัวเป็นปัจจัยทำนายการเกิดภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนได้ดีที่สุดและดังนั้นระบบการดูแลสุขภาพควรพัฒนากลวิธีที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในการควบคุมน้ำหนักในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาโดย คำนึงถึงความแตกต่างทางเพศ สังคมและสิ่งแวดล้อมของครอบครัว
ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยและกรุงเทพมหานครมีความชุกมากที่สุด การศึกษาแบบกลุ่มศึกษา-เปรียบเทียบครั้งนี้เพื่อค้นหาปัจจัยเชิงนิเวศวิทยาที่มีความสัมพันธ์กับภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ถึง 6 ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นเด็กวัยเรียน จำนวน 510 คนและ ครูประจำชั้นจำนวน 52 คน จากโรงเรียนปฐมศึกษาของรัฐบาล 4 แห่งและเอกชน 2 แห่ง เก็บข้อมูลโดยผู้เข้าร่วมการวิจัยทุกคนตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ใช้สถิติเชิงบรรยาย สถิตินอนพาราเมตริก การทดสอบไคสแคว์ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบลอจิสติคทีละตัวแปรและหลายตัวแปรในการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ถดถอยพหุแบบลอจิสติคทีละตัวแปรพบว่าหลายปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ (ทางบวก) กับภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียน ได้แก่ เด็กผู้ชาย การรับรู้รูปร่างตนเองว่าค่อนข้างใหญ่และใหญ่ ได้รับเงินไปโรงเรียนวันละ50บาทขึ้นไป การรับรู้ในการปฏิบัติต่อการจำกัดและทดแทนการกินอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก รูปร่างของพ่อแม่ที่ค่อนข้างอ้วนและอ้วนและปัจจัยการเลี้ยงดูของพ่อแม่ในการสนับสนุนการตัดสินใจด้วยตนเองของบุตรมีความสัมพันธ์ (ทางลบ) กับ ภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียน (p<0.05) ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบลอจิสติคหลายตัวแปร พบว่าปัจจัยเพศชาย (เด็กผู้ชาย) (aOR 3.13; 1.80-5.44) และการรับรู้รูปร่างตนเองว่าค่อนข้างใหญ่และใหญ่ (aOR 45.74; 17.91-116.83) มีโอกาสเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักเกิน (p<0.05) ส่วนการเลี้ยงดูของพ่อแม่ที่มีการบังคับสูง (aOR 0.23; 0.09-0.62) และการสนับสนุนการตัดสินใจด้วยตนเองของบุตรในระดับปานกลางและสูง (aOR 0.44; 0.19-0.99 และ aOR 0.28; 0.11-0.71 ตามลา ดับ) เป็นปัจจัยป้องกันการเกิดภาวะน้าหนักเกินในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา (p<0.05) โดยปัจจัยทั้ง 4 ตัวนี้ สามารถร่วมกันทำนายโอกาสของการเกิดภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้ 58% การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงปัจจัยบุคคลและสิ่งแวดล้อมของครอบครัวเป็นปัจจัยทำนายการเกิดภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนได้ดีที่สุดและดังนั้นระบบการดูแลสุขภาพควรพัฒนากลวิธีที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในการควบคุมน้ำหนักในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาโดย คำนึงถึงความแตกต่างทางเพศ สังคมและสิ่งแวดล้อมของครอบครัว
Degree Name
Doctor of Nursing Science
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Mahidol University. Faculty of Nursing
Degree Discipline
Nursing
Degree Grantor(s)
Mahidol University