การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ธรรมะผ่านกระบวนการจิตตปัญญาศึกษา
dc.contributor.advisor | ศักดิ์ชัย อนันต์ตรีชัย | |
dc.contributor.advisor | หิมพรรณ รักแต่งาม | |
dc.contributor.author | นเรศ เสวิกา | |
dc.date.accessioned | 2024-01-09T01:06:12Z | |
dc.date.available | 2024-01-09T01:06:12Z | |
dc.date.copyright | 2562 | |
dc.date.created | 2562 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description | จิตตปัญญาศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2562) | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ธรรมะผ่านกระบวนการจิตตปัญญาศึกษา โดยใช้ ระเบียบวิธี การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร โดยมีพระภิกษุเข้าร่วม 20 รูป จากการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญญาในพระพุทธศาสนาประกอบด้วย ปัจจัยภายนอก คือการมีกัลยาณมิตร และปัจจัยภายในคือการมีโยนิโสมนสิการ ส่วนการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษา มีปัจจัยที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ดังนี้ คือ การสร้างพื้นที่ปลอดภัย การสัมผัสประสบการณ์ตรง และการตระหนักรู้ในตัวเอง ผ่านการพัฒนาและออกแบบหลักสูตร ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) เรียนรู้กระบวนการจิตตปัญญาศึกษา 2) เรียนรู้ธรรมะผ่านกระบวนการจิตตปัญญาศึกษา 3) ฝึกทักษะ กระบวนกร โดยผลของการนำหลักสูตรที่ออกแบบและพัฒนาไปใช้จริง มีกระบวนการที่ตรงตามวัตถุประสงค์และเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้วิจัยเห็นว่า ควรมีการปรับปรุง 2 ประเด็น คือการเรียงลำดับของกิจกรรม และ ปรับระยะเวลาในการทำกิจกรรมให้เหมาะสม นอกจากนั้น กระบวนการจิตตปัญญาศึกษาดังกล่าว ส่งผลให้พระภิกษุผู้เข้าร่วมเกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวเอง อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสอนในการทำงานจริงของท่านด้วยเช่นกัน | |
dc.description.abstract | The objective of this research was developing dharma learning process through contemplative education process. Research and development methodology was used and participants were 20 monks. The result of the review literature was that there were two factors that contributed to wisdom in Buddhism; 1) Kalayanamit (true friends) and 2) Yonisomanasikāra (careful consideration). Besides, there were 3 factors that enhanced contemplative education; creating safe space, direct experience, and self-awareness, which were delivered through curriculum design and development. The curriculum was composed of 3 parts; 1) learning the contemplative education process, 2) learning Dharma through contemplative education processes, and 3) practicing facilitating skills. For the result of curriculum implementation, the process was aligned with the objectives and was suitable for the target group. According to the researcher's opinion, there should be improvement in 2 points; 1) the arrangement of activity order and 2) the arrangement of process duration. In addition, this learning process could help monks to change in oneselves, which could also help them to change their ways of teaching | |
dc.format.extent | ก-ญ, 153 แผ่น : ภาพประกอบ | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (จิตตปัญญาศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2562 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92044 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | การวางแผนหลักสูตร | |
dc.subject | จิตตปัญญาศึกษา | |
dc.subject | สงฆ์ -- การศึกษาและการสอน | |
dc.title | การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ธรรมะผ่านกระบวนการจิตตปัญญาศึกษา | |
dc.title.alternative | The development of dhamma learning process through contemplative education process | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/553/5937469.pdf | |
thesis.degree.department | ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา | |
thesis.degree.discipline | จิตตปัญญาศึกษา | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |