Development of a wind turbine simulator for educational labs
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 72 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Eng. (Electrical Engineering))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Phongsin Kaewrattanasripho Development of a wind turbine simulator for educational labs. Thesis (M.Eng. (Electrical Engineering))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92485
Title
Development of a wind turbine simulator for educational labs
Alternative Title(s)
การพัฒนากังหันลมจำลองสำหรับการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of the thesis aims to develop a 500W horizontal-axis wind turbine simulator that is capable of operating over a wide range of wind speed 3-7 m/s. The wind turbine simulator was implemented by a separately excited DC motor. The characteristics of wind turbine were simulated using LabVIEW software. The inputs variables of the simulation were wind speed, motor speed and pitch angle. The output variable of the simulation was the reference current which was digitally controlled by a microcontroller TMS320F28069. The selection of optimal controller gains was predetermined via the genetic algorithm. Thus, both fast response and minimum error could be achieved. The experimental results were compared with the theoretical calculation, and the validity of the developed wind turbine simulator was confirmed
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องจำลองกังหันลมแบบแนวแกนนอนที่มีกำลังสูงสุด 500 วัตต์ ทำงานที่ความเร็วลม 3 ถึง 7 เมตร/วินาที ซึ่งจะถูกแทนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก การจำลองคุณลักษณะการทำงานของกังหันลมจะถูกคำนวณในเวลาจริงด้วยซอฟต์แวร์แลปวิว โดยระบบจำลองการทำงานของกังหันลมจะรับตัวแปรอินพุท ความเร็วลม ความเร็วมอเตอร์ มุมบิดของใบพัด และ ส่งตัวแปรเอาท์พุทเป็นกระแสไฟฟ้าอ้างอิงสำหรับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงซึ่งจะถูกควบคุมแบบดิจิตัลโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ TMS320F28069 การคัดเลือกเกณฑ์ของตัวควบคุมที่เหมาะสมจะใช้วิธีการคัดเลือกแบบจีนเนติอัลกอริธึม เพื่อให้ ได้ผลการตอบสนองที่รวดเร็วและมีค่าความผิดพลาดน้อยที่สุด จากผลการทดสอบทำให้สามารถยืนยันความเป็นไปได้และความถูกต้องของเครื่องจำลองกังหันลมที่พัฒนาขึ้น
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องจำลองกังหันลมแบบแนวแกนนอนที่มีกำลังสูงสุด 500 วัตต์ ทำงานที่ความเร็วลม 3 ถึง 7 เมตร/วินาที ซึ่งจะถูกแทนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก การจำลองคุณลักษณะการทำงานของกังหันลมจะถูกคำนวณในเวลาจริงด้วยซอฟต์แวร์แลปวิว โดยระบบจำลองการทำงานของกังหันลมจะรับตัวแปรอินพุท ความเร็วลม ความเร็วมอเตอร์ มุมบิดของใบพัด และ ส่งตัวแปรเอาท์พุทเป็นกระแสไฟฟ้าอ้างอิงสำหรับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงซึ่งจะถูกควบคุมแบบดิจิตัลโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ TMS320F28069 การคัดเลือกเกณฑ์ของตัวควบคุมที่เหมาะสมจะใช้วิธีการคัดเลือกแบบจีนเนติอัลกอริธึม เพื่อให้ ได้ผลการตอบสนองที่รวดเร็วและมีค่าความผิดพลาดน้อยที่สุด จากผลการทดสอบทำให้สามารถยืนยันความเป็นไปได้และความถูกต้องของเครื่องจำลองกังหันลมที่พัฒนาขึ้น
Description
Electrical Engineering (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Engineering
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Electrical Engineering
Degree Grantor(s)
Mahidol University