การวิจัยเชิงปฏิบัติการการระดมทุนของพิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
Issued Date
2567
Copyright Date
2561
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ญ, 205 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561
Suggested Citation
ธีรวรรณ มิ่งบัวหลวง การวิจัยเชิงปฏิบัติการการระดมทุนของพิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล . วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91880
Title
การวิจัยเชิงปฏิบัติการการระดมทุนของพิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
Alternative Title(s)
An action research for fundraising of cultural anthropology museum, Research Institute for Languages and Cultures of Asia, Mahidol University
Author(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบริบทการระดมทุนของพิพิธภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ สะท้อนถึงคนดี ความดี และการทำความดี เพื่อวิเคราะห์ทุนวัฒนธรรมของพิพิธภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ และเพื่อการดำเนินกิจกรรม สรุปผล และเสนอแผนการระดมทุนในอนาคตของพิพิธภัณฑ์ ผู้วิจัยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีฐานราก ในการวิเคราะห์ผลการศึกษา เทียบเคียงร่วมกับแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจของทรัพย์สินเชิงสัญลักษณ์ และการบริโภคเชิงสัญญะ ศึกษากิจกรรม 4 ประเภท ได้แก่ บริการวิชาการการศึกษาดูงานต่างประเทศ ร้านค้าพิพิธภัณฑ์ และกิจกรรมจิตอาสา ผลการศึกษาพบว่า คนดี คือ ผู้ที่สนใจ เข้าใจ และเข้าถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งในงานวิจัยนี้ มีคนดี 3 รูปแบบได้แก่ ผู้แสวงหาผลประโยชน์ ผู้คาดหวังผลประโยชน์ต่างตอบแทน และผู้ทา ความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน ความดี คือ การอุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม อาจมิได้คำนึงถึงตอบแทนใด นอกจากความสุขทางใจ การทำความดี คือ การให้ความรู้ ความเข้าใจ และความเห็นอกเห็นใจต่อผู้อื่น ทุนทางวัฒนธรรมปรากฏในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ทุนเงินตรา ทุนทางสังคม ทุนความรู้ ทุนทักษะ และทุนเชิงคุณค่า เป็นวงจรแห่งการแลกเปลี่ยน ขับเคลื่อนบทบาทการเป็นผู้ให้และผู้รับของทั้งพิพิธภัณฑ์และผู้มีส่วนร่วมในการระดมทุน ผู้วิจัยจึงได้ข้อสรุปว่า การระดมทุนในพิพิธภัณฑ์คือการสร้างพื้นที่แห่งการทำความดีของผู้คนในสังคมที่แตกต่างหลากหลายแต่ไม่แบ่งแยกชนชั้น พิพิธภัณฑ์จึงมีแนวทางระดมทุน ในรูปแบบผู้ประกอบการทางวัฒนธรรม ที่ใส่ใจพิจารณาถึงคุณค่าและวิถีชีวิตของผู้คน นำไปสู่การออกแบบสินค้าและบริการที่สามารถตอบสนองคุณค่าและวิถีชีวิตดังกล่าวได้ ด้วยกิจกรรมการระดมทุนที่ตอบโจทย์การสร้างภาพลักษณ์ ความร่วมมือในการสร้างผลประโยชน์ร่วมกัน และการใช้ความรู้แก่สาธารณชน
This research aims to study the contexts of museum fundraising that reflect good men, goodness and good deed, to analyze the cultural capitals from museum fundraising, and to operate, summarize and propose the future planning of museum fundraising. Grounded theory used as an analyzing concept in this research. The grounded results of museum fundraising were compared with the concepts of the Economy of Symbolic Goods and the Consumption of sign to criticize museum fundraising activities as academic services, international excursion, museum shop and volunteer activities. Researcher recognizes that good men are people who interest, understand and approach cultural diversity. They are 3 differentiations, advantage taker, matcher and giver. Goodness is a feeling of self-dedication for social benefit without expecting any return but happiness. Good deed is an action of providing knowledge, understanding and empathy. Cultural capitals in museum fundraising consist of currency capital, social capital, knowledge capital, skill capital and value capital. These capitals exhibit the circle of exchange that can activate giver and receiver roles between museum and participants. To conclude the museum fundraising is creation of societal good deed platform for different people but never for people differentiation. The museum as a cultural entrepreneur has to consider people values and lifestyles to create products and services that are compatible with those of people, for instance, creating products and services that represent people values and lifestyles, mutual benefit among stakeholders and knowledge appliance for public.
This research aims to study the contexts of museum fundraising that reflect good men, goodness and good deed, to analyze the cultural capitals from museum fundraising, and to operate, summarize and propose the future planning of museum fundraising. Grounded theory used as an analyzing concept in this research. The grounded results of museum fundraising were compared with the concepts of the Economy of Symbolic Goods and the Consumption of sign to criticize museum fundraising activities as academic services, international excursion, museum shop and volunteer activities. Researcher recognizes that good men are people who interest, understand and approach cultural diversity. They are 3 differentiations, advantage taker, matcher and giver. Goodness is a feeling of self-dedication for social benefit without expecting any return but happiness. Good deed is an action of providing knowledge, understanding and empathy. Cultural capitals in museum fundraising consist of currency capital, social capital, knowledge capital, skill capital and value capital. These capitals exhibit the circle of exchange that can activate giver and receiver roles between museum and participants. To conclude the museum fundraising is creation of societal good deed platform for different people but never for people differentiation. The museum as a cultural entrepreneur has to consider people values and lifestyles to create products and services that are compatible with those of people, for instance, creating products and services that represent people values and lifestyles, mutual benefit among stakeholders and knowledge appliance for public.
Description
วัฒนธรรมศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
วัฒนธรรมศึกษา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล