Does aports bra limit metabolic profiles during constant speed running?
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix ,60 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Thanachai Sahaschot Does aports bra limit metabolic profiles during constant speed running?. Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94044
Title
Does aports bra limit metabolic profiles during constant speed running?
Alternative Title(s)
การใส่ชุดชั้นในกีฬามีผลต่อการเผาผลาญพลังงานของร่างกายระหว่างการวิ่งที่ความเร็วคงที่หรือไม่
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of this study was to investigate whether or not sports bras distress the metabolism during jogging. Fifteen healthy female subjects participated in three exercise trials of no bra (NB), casual bra (CB), and sports bra (SB) conditions. Exercise conditions were exercise conducted on a motor-driven treadmill at 4 mph, 0% grade, and up to 80% of age-predicted maximum heart rate with randomized bra conditions. Anthropometric data and maximum oxygen consumption were determined under the CB condition. The results revealed that there were no changes in metabolic profiles of SB at rest and during exercise when compared with that of CB and NB conditions. With the exception of respiratory exchange ratio (RER), all groups exhibited similar changing patterns of rate of oxygen consumption (V̇ O2), rate of carbon dioxide production (V̇ CO2) and energy expenditure (EE), which related to the intensity of exercise, and these changes declined during the recovery period. Betweengroup comparisons showed no significant differences of metabolic variables among NB, CB, and SB. However, while NB had immediate recovery, SB recovery was delayed for 1-2 min and CB was further delayed for 3 min. In addition, this study demonstrated the critical roles of the glycolytic pathway as a main energy substrate. In conclusion, sports bras do not limit metabolic profiles at rest and during exercise but may delay some recovery processes.
เพื่อศึกษาผลกระทบของการใส่เสื้อชั้นในกีฬาที่มีต่อระบบเผาผลาญพลังงานของร่างกายขณะวิ่ง ในการศึกษานี้ใช้อาสาสมัครเพศหญิงที่มีสุขภาพดีจำนวน 15 คน ทำการทดสอบคนละ 3 ครั้งโดยการสุ่มลำดับ (NB = ไม่สวมใส่เสื้อชั้นใน, CB = สวมเสื้อชั้นในปกติ, SB = สวมเสื้อชั้นในกีฬา) ซึงการทดสอบแต่ละครั้งจะห่าง กันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ในการทดสอบจะให้ผู้เข้าร่วมการทดสอบทำการวิ่งบนลู่วิ่งกลที่ความเร็ว 4 ไมล์ต่อชั่วโมง จนกระทั่งถึง 80% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด จากผลการศึกษาไม่พบความแตกต่างของระบบเผาผลาญ พลังงานของร่างกายในกลุ่มที่สวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาเมื่อเทียบกับกลุ่มที่สวมใส่เสื้อชั้นในปกติและกลุ่มที่ไม่สวมใส่ เสื้อชั้นใน โดยทั้งสามกลุ่มแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในลักษณะเดียวกันของอัตราการใช้ออกซิเจน (V̇O2), อัตราการผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ (V̇CO2) และการใช้พลังงาน (EE) ซึ่งเกิดขึ้นจากความหนักของการออกกำลัง กาย และจะลดลงในช่วงการฟื้ นสภาพ ยกเว้นอัตราส่วนระหว่างปริมาณการผลิตคาร์บอนไดออกไซด์กับปริมาณ การใช้ออกซิเจน (RER) เมื่อเปรียบเทียมระหว่างกลุ่ม ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของตัวแปร ทางระบบเผาผลาญพลังงานดังกล่าวทั้งในขณะพัก, ระหว่างและหลังออกกำลังกาย เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่ม พบว่า กลุ่มที่ไม่สวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาสามารถฟื้นสภาพได้ทันทีหลังจากออกกำลังกาย ในขณะที่กลุ่มที่สวมใส่เสื้อ ชั้นในกีฬาจะมีระยะเวลาการฟื้นสภาพหลังออกกำลังกายล่าช้ากว่าประมาณ 1-2 นาที และกลุ่มที่สวมใส่เสื้อชั้นใน ปกติจะมีระยะเวลาการฟื้ นสภาพหลังออกกำลังกายล่าช้ากว่าประมาณ 3 นาที อย่างไรก็ตามการศึกษานี้แสดงให้ เห็นถึงบทบาทที่สำคัญของกระบวนการสลายไกลโคเจนเพื่อนำมาใช้เป็นพลังงานหลัก กล่าวโดยสรุป การสวมใส่ เสื้อชั้นในกีฬาไม่มีผลจำกัดการทำงานของระบบเผาผลาญพลังงานของร่างกายในขณะพักและระหว่างออกกำลัง กาย แต่อาจมีผลทำให้กระบวนการฟื้นสภาพบางอย่างหลังออกกำลังกายล่าช้าลงได้
เพื่อศึกษาผลกระทบของการใส่เสื้อชั้นในกีฬาที่มีต่อระบบเผาผลาญพลังงานของร่างกายขณะวิ่ง ในการศึกษานี้ใช้อาสาสมัครเพศหญิงที่มีสุขภาพดีจำนวน 15 คน ทำการทดสอบคนละ 3 ครั้งโดยการสุ่มลำดับ (NB = ไม่สวมใส่เสื้อชั้นใน, CB = สวมเสื้อชั้นในปกติ, SB = สวมเสื้อชั้นในกีฬา) ซึงการทดสอบแต่ละครั้งจะห่าง กันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ในการทดสอบจะให้ผู้เข้าร่วมการทดสอบทำการวิ่งบนลู่วิ่งกลที่ความเร็ว 4 ไมล์ต่อชั่วโมง จนกระทั่งถึง 80% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด จากผลการศึกษาไม่พบความแตกต่างของระบบเผาผลาญ พลังงานของร่างกายในกลุ่มที่สวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาเมื่อเทียบกับกลุ่มที่สวมใส่เสื้อชั้นในปกติและกลุ่มที่ไม่สวมใส่ เสื้อชั้นใน โดยทั้งสามกลุ่มแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในลักษณะเดียวกันของอัตราการใช้ออกซิเจน (V̇O2), อัตราการผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ (V̇CO2) และการใช้พลังงาน (EE) ซึ่งเกิดขึ้นจากความหนักของการออกกำลัง กาย และจะลดลงในช่วงการฟื้ นสภาพ ยกเว้นอัตราส่วนระหว่างปริมาณการผลิตคาร์บอนไดออกไซด์กับปริมาณ การใช้ออกซิเจน (RER) เมื่อเปรียบเทียมระหว่างกลุ่ม ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของตัวแปร ทางระบบเผาผลาญพลังงานดังกล่าวทั้งในขณะพัก, ระหว่างและหลังออกกำลังกาย เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่ม พบว่า กลุ่มที่ไม่สวมใส่เสื้อชั้นในกีฬาสามารถฟื้นสภาพได้ทันทีหลังจากออกกำลังกาย ในขณะที่กลุ่มที่สวมใส่เสื้อ ชั้นในกีฬาจะมีระยะเวลาการฟื้นสภาพหลังออกกำลังกายล่าช้ากว่าประมาณ 1-2 นาที และกลุ่มที่สวมใส่เสื้อชั้นใน ปกติจะมีระยะเวลาการฟื้ นสภาพหลังออกกำลังกายล่าช้ากว่าประมาณ 3 นาที อย่างไรก็ตามการศึกษานี้แสดงให้ เห็นถึงบทบาทที่สำคัญของกระบวนการสลายไกลโคเจนเพื่อนำมาใช้เป็นพลังงานหลัก กล่าวโดยสรุป การสวมใส่ เสื้อชั้นในกีฬาไม่มีผลจำกัดการทำงานของระบบเผาผลาญพลังงานของร่างกายในขณะพักและระหว่างออกกำลัง กาย แต่อาจมีผลทำให้กระบวนการฟื้นสภาพบางอย่างหลังออกกำลังกายล่าช้าลงได้
Description
Sports Science (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Sports Science and Technology
Degree Discipline
Sports Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University