The influences of stressors, maternal depression and parenting on conduct problems among preschoolers in Bangkok, Thailand
Issued Date
2023
Copyright Date
2014
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 175 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Nantiya Ekathikhomkit The influences of stressors, maternal depression and parenting on conduct problems among preschoolers in Bangkok, Thailand. Thesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89733
Title
The influences of stressors, maternal depression and parenting on conduct problems among preschoolers in Bangkok, Thailand
Alternative Title(s)
ภาวะซึมเศร้า และการเลี้ยงดูของมารดาต่อพฤติกรรมเกเรของเด็กวัยก่อนเรียนในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
Author(s)
Abstract
The purpose of this study was to validate a causal model of relationships among five factors: daily hassles, marital satisfaction, difficult child temperament, maternal depression, and disrupted parenting on Thai preschoolers' conduct problems. The conceptual model of how stressors affect parenting attitudes and parent-child interactions was used to guide this study. Based on the inclusion criteria, 198 mother-preschooler dyads were recruited from eight selected schools by the multistage cluster sampling method. A demographic data form and the Strengths and Difficulties Questionnaire were used to screen mothers and their child and to assess conduct problems of children, respectively. After screening, the mother samples completed a set of questionnaires including 1) the Eyberg Child Behavior Inventory, 2) the Difficult Child Questionnaire, 3) the Parenting Scale, 4) the Center for Epidemiologic Studies Depression Scale, 5) the Everyday Stressors Index, and 6) the Locke-Wallace Marital Adjustment Test. Path analysis was used for testing the model. The findings indicated that the modified model fit well to the empirical data at x2 = 5.06, df = 5, p = .41, x2/df = 1.01, GFI = .99, AGFI = .97, SRMR = .03, RMSEA = 0.000. Daily hassles, marital satisfaction, difficult child temperament, maternal depression and disrupted parenting accounted for 15% of variance on child conduct problems. These findings supported the significant direct effect of the stressors on child conduct problems through maternal depression and disrupted parenting. However, an indirect effect of maternal depression on child conduct problems through disrupted parenting was not supported. The findings increase the understanding of how maternal depression and disrupted parenting mediate the effects of maternal stressors on preschoolers' conduct problems. Psychiatric nurses should develop an intervention to reduce maternal depression and improve parenting skills in order to prevent conduct problems in preschool-age children.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความตรงของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความเครียดในชีวิตประจำวัน สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ความเป็นเด็กเลี้ยงยาก ภาวะซึมเศร้าของมารดา และการเลี้ยงดูบุตรต่อพฤติกรรมเกเรในเด็กวัยก่อนเรียนโดยศึกษาภายใต้กรอบแนวคิดของ The conceptual model of how stressors affect parenting attitudes and parent-child interactions กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาของบุตรวัยก่อนเรียนที่มีพฤติกรรมเกเรจำนวน 198 คน หลังจากคัดกรองด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบประเมินจุดแข็งจุดอ่อน มารดาตอบแบบประเมินดังต่อไปนี้ 1) แบบวัดพฤติกรรมเด็กของไอเบอร์ก 2) แบบสอบถามพื้นอารมณ์เด็ก 3) แบบประเมินการเลี้ยงดูบุตร 4) แบบคัดกรองภาวะอารมณ์ซึมเศร้า 5) ดัชนีวัดความเครียดในชีวิตประจำวัน 6) แบบวัดสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ คือ การวิเคราะห์เส้นทาง ผลการศึกษาพบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 5.06, df = 5, p = .41, χ2/df = 1.01, GFI = .99, AGFI = .97, SRMR = .03, RMSEA = 0.000) ความเครียดในชีวิตประจำวัน สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ความเป็นเด็กเลี้ยงยาก ภาวะซึมเศร้าของมารดา และการเลี้ยงดูบุตรสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมเกเรได้ร้อยละ 15 ผลการศึกษาชี้ให้เห็นอิทธิพลทางอ้อมของสิ่งก่อเครียดที่มีต่อพฤติกรรมเกเรในเด็กวัยก่อนเรียนโดยผ่านภาวะซึมเศร้าของมารดา และการเลี้ยงดูบุตร แต่ไม่พบอิทธิพลทางอ้อมของภาวะซึมเศร้าในมารดาต่อพฤติกรรมเกเรในเด็กวัยก่อนเรียนผ่านภาวะการเลี้ยงดูบุตร ผลการศึกษาครั้งนี้ก่อให้เกิดความเข้าใจถึงอิทธิพล ส่งผ่านของภาวะซึมเศร้าของมารดาและ การเลี้ยงดูบุตรต่อการเกิดพฤติกรรมเกเรในเด็กไทยวัยก่อนเรียน พยาบาลจิตเวชควรพัฒนาโปรแกรมที่ลดภาวะซึมเศร้าของมารดาและการฝึกการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมเพื่อป้องกันปัญหาพฤติกรรมเกเรในเด็กวัยก่อนเรียน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความตรงของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความเครียดในชีวิตประจำวัน สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ความเป็นเด็กเลี้ยงยาก ภาวะซึมเศร้าของมารดา และการเลี้ยงดูบุตรต่อพฤติกรรมเกเรในเด็กวัยก่อนเรียนโดยศึกษาภายใต้กรอบแนวคิดของ The conceptual model of how stressors affect parenting attitudes and parent-child interactions กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาของบุตรวัยก่อนเรียนที่มีพฤติกรรมเกเรจำนวน 198 คน หลังจากคัดกรองด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบประเมินจุดแข็งจุดอ่อน มารดาตอบแบบประเมินดังต่อไปนี้ 1) แบบวัดพฤติกรรมเด็กของไอเบอร์ก 2) แบบสอบถามพื้นอารมณ์เด็ก 3) แบบประเมินการเลี้ยงดูบุตร 4) แบบคัดกรองภาวะอารมณ์ซึมเศร้า 5) ดัชนีวัดความเครียดในชีวิตประจำวัน 6) แบบวัดสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ คือ การวิเคราะห์เส้นทาง ผลการศึกษาพบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 5.06, df = 5, p = .41, χ2/df = 1.01, GFI = .99, AGFI = .97, SRMR = .03, RMSEA = 0.000) ความเครียดในชีวิตประจำวัน สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ความเป็นเด็กเลี้ยงยาก ภาวะซึมเศร้าของมารดา และการเลี้ยงดูบุตรสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมเกเรได้ร้อยละ 15 ผลการศึกษาชี้ให้เห็นอิทธิพลทางอ้อมของสิ่งก่อเครียดที่มีต่อพฤติกรรมเกเรในเด็กวัยก่อนเรียนโดยผ่านภาวะซึมเศร้าของมารดา และการเลี้ยงดูบุตร แต่ไม่พบอิทธิพลทางอ้อมของภาวะซึมเศร้าในมารดาต่อพฤติกรรมเกเรในเด็กวัยก่อนเรียนผ่านภาวะการเลี้ยงดูบุตร ผลการศึกษาครั้งนี้ก่อให้เกิดความเข้าใจถึงอิทธิพล ส่งผ่านของภาวะซึมเศร้าของมารดาและ การเลี้ยงดูบุตรต่อการเกิดพฤติกรรมเกเรในเด็กไทยวัยก่อนเรียน พยาบาลจิตเวชควรพัฒนาโปรแกรมที่ลดภาวะซึมเศร้าของมารดาและการฝึกการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมเพื่อป้องกันปัญหาพฤติกรรมเกเรในเด็กวัยก่อนเรียน
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Nursing
Degree Discipline
Nursing
Degree Grantor(s)
Mahidol University