ดนตรีในวิถีของชาวอูรักลาโวย : การศึกษาทางมนุษยวิทยาการดนตรี ณ บ้านสังกาอู้ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่
Issued Date
2554
Copyright Date
2554
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 255 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554
Suggested Citation
พนัง ปานช่วย ดนตรีในวิถีของชาวอูรักลาโวย : การศึกษาทางมนุษยวิทยาการดนตรี ณ บ้านสังกาอู้ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93708
Title
ดนตรีในวิถีของชาวอูรักลาโวย : การศึกษาทางมนุษยวิทยาการดนตรี ณ บ้านสังกาอู้ ตำบลเกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่
Alternative Title(s)
Music in the ways of life of Urak-Lawoi people : an ethnomusicological study at Sang-U village, Ko-Lanta-Yai subdistrict, Ko-Lanta district, Krabi province
Author(s)
Abstract
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาดนตรีในวิถีชีวิตของชาวอูรักลาโวย ณ หมู่บ้านสังกาอู้ ตำบล เกาะลันตาใหญ่ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยทางมานุษยวิทยาการดนตรี เพื่อ เข้าใจถึงความคิดจิตใจ และโลกทัศน์ของชาวอูรักลาโวยที่เกี่ยวกับดนตรี และนำความรู้ที่ได้มาเพื่อ ร่วมสืบสานวัฒนธรรมดนตรีของชาวอูรักลาโวย จากการศึกษาพบว่า ดนตรีในวิถีชีวิตของชาว อูรักลาโวยแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ ดนตรีในพิธีกรรม และดนตรีเพื่อความบันเทิง ดนตรีใน พิธีกรรมประกอบไปด้วย วงรำมะนา วงสะม้าทน ส่วนดนตรีเพื่อความบันเทิงเป็นอาชีพที่ทำรายได้ และสร้างชื่อเสียงให้ชุมชนซึ่งได้แก่ วงรำมะนาเพื่อความบันเทิง วงรองเง็ง วงแห่เรือปลาจั๊ก วงรำวง ชาวบ้าน นอกจากนี้ ยังมีดนตรีสมัยนิยมที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เปิดเพลงในงานประเพณีต่างๆ ผล ของการศึกษาสะท้อนให้เห็นว่าดนตรีนอกจากจะเป็นจิตวิญญาณของชาวอูรักลาโวยแล้ว ยังสร้าง ความเพลิดเพลิน และความสามัคคี ดนตรีได้สร้างกระบวนการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม เป็นการเปิด พื้นที่ทำให้เกิดการยอมรับจากสังคมภายนอก และมีพลังในการต่อรองทางสังคมกับวัฒนธรรมที่เป็น กระแสหลัก การย้ำเตือนทางความคิดและอุดมการณ์ทางวัฒนธรรมที่อยู่ในรูปแบบดนตรี ทำให้ ชาวอูรักลาโวยเป็นชุมชนที่รู้จักตนเอง และสามารถสืบทอดจิตสำนึกทางประวัติศาสตร์ท่ามกลาง กระแสโลกาภิวัตน์ได้
Description
วัฒนธรรมศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2554)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
วัฒนธรรมศึกษา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล