Microencapsulation of soybean oil by spray drying and fluidized bed agglomeration with soy protein isolate and maltodextrin

dc.contributor.advisorManop Suphantharika
dc.contributor.advisorSittiwat Lertsiri
dc.contributor.advisorPairoj Luangpituksa
dc.contributor.advisorApinya Assavanig
dc.contributor.authorPlengsuree Thiengnoi
dc.date.accessioned2023-09-07T02:10:52Z
dc.date.available2023-09-07T02:10:52Z
dc.date.copyright2009
dc.date.created2009
dc.date.issued2023
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาถึงความเป็นไปได้ของการใช้สารห่อหุ้มน้ำมันถั่วเหลือง (ที่ปริมาณ 25 และ 50 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง) ด้วยวิธีการทำแห้งแบบพ่นฝอยในระบบของสารห่อหุ้ม (ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนัก/น้ำหนัก) ที่ประกอบไปด้วยโปรตีนสกัดจากถั่ว เหลือง (spi 1 หรือ spi 2) กับมอล โตเด็กซ์ทรินที่ีมีค่าสมมูลเด็กซ์โทรสแตกต่างกัน (7.5-24) หลังจากนั้นจึงทำให้เกาะกลุ่มกันด้วย กระบวนการเกาะกลุ่มแบบฟลูอิดไดซ์เบด คุณสมบัติของระบบอิมัลชันและประสิทธิภาพในการห่อหุ้ม ด้วยสารของผงแห้งได้รับผลกระทบในทิศทางตรงกันข้ามกับการเพิ่มมปริมาณน้ำมันถั่ว เหลือง ถึงแม้ว่า ขนาดอนุภาคของเม็ดไขมันในระบบอิมัลชันจะไม่ได้รับผลกระทบจากค่าความแตกต่างของสมมูล เด็กซ์โทรส แต่ประสิทธิภาพในการห่อหุ้มด้วยสารของผงแห้งเพิ่มขึ้น เมื่อค่าสมมูลเด็กซ์โทรสของ มอลโตเด็กซ์ทรินเพิ่มมขึ้น จากการศึกษาพบว่าของผสมระหว่างโปรตีนสกัดจากถั่ว เหลืองชนิดใดชนิด หนึ่งกับมอลโตเด็กซ์ทรินที่มีค่าสมมูลเด็กซ์โทรสสูงจะมีประสิทธิภาพสูงในการห่อหุ้มน้ำมัน การทำ แห้งอิมัลชันแบบพ่นฝอยทำให้ได้อนุภาคผงแห้งที่มีขนาดเล็ก (ประมาณ 20 ไมครอน) ซึ่งมีคุณสมบัติ ในการขนย้ายและการละลายกลับในน้ำต่ำ วิธีการเกาะกลุ่มด้วยฟลูอิดไดซ์เบดของน้ำมันถั่ว เหลือง ผง โดยใช้สารละลายมอลโตเด็กซ์ทรินเป็นสารช่วยจับระหว่างอนุภาคผงแห้งด้วยเครื่องเกาะกลุ่มแบบ ฟลูอิดไดซ์เบดสามารถปรับปรุงคุณสมบัติการละลายกลับในน้ำได้ จากการทดลองพบว่าชนิดและ ความเข้มข้นของสารละลายช่วยจับที่ให้ผลดีที่สุดคือ 15 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนัก/ปริมาตรของมอลโตเด็กซ์ ทรินที่มีค่าสมมูลเด็กซ์โทรสเท่ากับ 14 ซึ่งทำให้ได้เม็ดอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (657 ไมครอน) และ มีคุณสมบัติการไหลดีขึ้น รวมถึงเม็ดอนุภาคมีการเกาะตัวกันน้อยลง คุณสมบัติการเปียกน้ำของ เม็ดอนุภาคดีขึ้น (เวลาที่เม็ดอนุภาคทั้งหมดเปี ยกน้ำเท่ากับ 3 วินาที) และคุณสมบัติการแพร่กระจายใน น้ำ (98 เปอร์เซ็นต์) มีค่าสูง
dc.format.extentxix, 142 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Biotechnology))--Mahidol University, 2009
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89476
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectAgglomeration
dc.subjectMicroencapsulation
dc.subjectSoy oil
dc.subjectSpray drying
dc.titleMicroencapsulation of soybean oil by spray drying and fluidized bed agglomeration with soy protein isolate and maltodextrin
dc.title.alternativeการห่อหุ้มน้ำมันถั่วเหลืองด้วยสารโปรตีนสกัดจากถั่วเหลืองและมอลโตเด็กซ์ทรินโดยการทำแห้งแบบพ่นฝอยและการเกาะกลุ่มด้วยฟลูอิดไดซ์เบด
dcterms.accessRightsrestricted access
mu.link.internalLinkhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2555/cd464/4637881.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplineBiotechnology
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections