Estimating the number of centenarians and the oldest-old in Thailand : trends in old age longevity from 1960 to 2010
Issued Date
2023
Copyright Date
2012
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 105 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Demography))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Sutthida Chuanwan Estimating the number of centenarians and the oldest-old in Thailand : trends in old age longevity from 1960 to 2010. Thesis (Ph.D. (Demography))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89428
Title
Estimating the number of centenarians and the oldest-old in Thailand : trends in old age longevity from 1960 to 2010
Alternative Title(s)
การคาดประมาณจำนวนศตวรรษิกชนและผู้สูงอายุวัยปลายในประเทศไทย : แนวโน้มความยืนยาวของชีวิตเมื่อสูงวัย จาก 2503 ถึง 2553
Author(s)
Abstract
The objectives of this study were to estimate the number of centenarians and the quality of centenarian data in civil registration in Thailand. Data from several sources, namely the series of population census, the Survey of Population Change (SPC), the Coale and Demeny regional model life tables, and United Nations World Population Prospects (UN WPP) were used. The data from censuses were employed to calculate survival ratios among the oldest old. These survival ratios were then applied to appropriate model life tables. The data on centenarians as reported in the civil registration from two sample provinces were collected to support and qualitatively explain the prior quantitative findings. These demographic procedures yielded an estimate of about 1,700 surviving centenarians in 2010, which was only 12% of the number recorded in official civil registration figures. The inflated estimates of the centenarian population recorded by the civil registration system were investigated by in-depth interviews of centenarians, village/sub-district headmen, registrars, and relatives of deceased persons in the two selected provinces. Names and addresses of centenarians were acquired from civil registration and were followed up to evaluate their accuracy. Among 429 recorded centenarians, only 43 cases (10%) were found to be true centenarians. Among the remaining 90% of recorded centenarians, most had already died and some were found to have ages of less than 100 years. The ages of all recorded centenarians over 106 years were found to be incorrectly recorded and were over reported in all cases. It was also found that incompleteness of death registration and incorrect age recording were the main causes of the inflated figures of centenarians found in registration data in Thailand.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทําการคาดประมาณจํานวนศตวรรษิกชน หรือคนที่มีอายุหนึ่งร้อยปี ขึ้นไป และศึกษาความสมบูรณ์ของข้อมูลคนร้อยปี ในทะเบียนราษฎร ประเทศไทย ข้อมูลที่ศึกษานํามาจากหลาย แหล่งข้อมูลด้วยกนั เช่น ชุดข้อมูลจากสํามะโนประชากร , การสํารวจการเปลี่ยนแปลงประชากร , ตารางชีพแบบ ภูมิภาคของโคล และดีเมน และ ข้อมูลทางประชากรของสหประชาชาติ ข้อมูลจากสํามะโนประชากรยังถูก นํามาใช้เพื่อคํานวณหาอัตราการรอดชีพระหวางผู้สูงอายุตอนปลาย และอัตราการรอดชีพดังกล่าวได้ถูกนํามาปรับ เพื่อให้ได้มาซึ่งตารางชีพที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการเก็บข้อมูลจากการรายงาน จํานวนศตวรรษิกชนของทะเบียนราษฎรจากสองจังหวัดตัวอย่าง เพื่อสนับสนุนผลการศึกษาในเชิงปริมาณ ผลจากการคาดประมาณพบว่า มีจํานวนศตวรรษิกชนประมาณ 1,700 คน ใน พ.ศ. 2553 ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 12 ของจํานวนศตวรรษิกชนทั้งหมดที่ถูกบันทึกไว้ตามหลักฐานทะเบียนราษฎร จากจํานวนศตวรรษิกชน ที่มากเกินความเป็ นจริงตามหลักฐานทะเบียนราษฎรถูกทําการตรวจสอบโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกกับคนที่มีอายุหนึ่งร้อยปี ขึ้นไป , สัมภาษณ์กำนัน, ผู้ใหญ่บ้าน, นายทะเบียน และญาติพี่น้องของศตวรรษิกชนในสองจังหวัด ตัวอย่าง โดยได้ติดตามเพื่อประเมินความถูกต้องของ ข้อมูล ศตวรรษิกชนจากชื่อและที่อยู่ที่ได้รับจากทะเบียนราษฎร ผลการศึกษาในเชิงคุณภาพพบว่า จากจํานวน ศตวรรษิกชนตามหลักฐานทะเบียนราษฎรจํานวน 429 ราย มีเพียง 43 รายเท่านั้น หรือเพียงร้อยละ 10 ของจํานวนศตวรรษิกชนที่ปรากฎในทะเบียนมีอายุมากกว่าหนึ่งร้อยปี ขึ้นไป อีกร้อยละ 90 พบว่าได้เสียชีวิตไปแล้ว และบางรายมีอายุน้อยกว่า 100 ปี อายุของบุคคลที่สูงกว่า 106 ปี ตามทะเบียนราษฎร พบวามีความไม่ถูกต้องในการบันทึกข้อมูล และมีการรายงานอายุ เกินความเป็นจริง นอกจากนี้ยังพบว่า ความไม่สมบูรณ์ในการจดทะเบียนตาย และการรายงานอายุผิดพลาด เป็นปัจจัยสําคัญในการ ทําให้จํานวนศตวรรษิกชนไทยในทะเบียนราษฎรสูงเกินความเป็นจริง
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทําการคาดประมาณจํานวนศตวรรษิกชน หรือคนที่มีอายุหนึ่งร้อยปี ขึ้นไป และศึกษาความสมบูรณ์ของข้อมูลคนร้อยปี ในทะเบียนราษฎร ประเทศไทย ข้อมูลที่ศึกษานํามาจากหลาย แหล่งข้อมูลด้วยกนั เช่น ชุดข้อมูลจากสํามะโนประชากร , การสํารวจการเปลี่ยนแปลงประชากร , ตารางชีพแบบ ภูมิภาคของโคล และดีเมน และ ข้อมูลทางประชากรของสหประชาชาติ ข้อมูลจากสํามะโนประชากรยังถูก นํามาใช้เพื่อคํานวณหาอัตราการรอดชีพระหวางผู้สูงอายุตอนปลาย และอัตราการรอดชีพดังกล่าวได้ถูกนํามาปรับ เพื่อให้ได้มาซึ่งตารางชีพที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการเก็บข้อมูลจากการรายงาน จํานวนศตวรรษิกชนของทะเบียนราษฎรจากสองจังหวัดตัวอย่าง เพื่อสนับสนุนผลการศึกษาในเชิงปริมาณ ผลจากการคาดประมาณพบว่า มีจํานวนศตวรรษิกชนประมาณ 1,700 คน ใน พ.ศ. 2553 ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 12 ของจํานวนศตวรรษิกชนทั้งหมดที่ถูกบันทึกไว้ตามหลักฐานทะเบียนราษฎร จากจํานวนศตวรรษิกชน ที่มากเกินความเป็ นจริงตามหลักฐานทะเบียนราษฎรถูกทําการตรวจสอบโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกกับคนที่มีอายุหนึ่งร้อยปี ขึ้นไป , สัมภาษณ์กำนัน, ผู้ใหญ่บ้าน, นายทะเบียน และญาติพี่น้องของศตวรรษิกชนในสองจังหวัด ตัวอย่าง โดยได้ติดตามเพื่อประเมินความถูกต้องของ ข้อมูล ศตวรรษิกชนจากชื่อและที่อยู่ที่ได้รับจากทะเบียนราษฎร ผลการศึกษาในเชิงคุณภาพพบว่า จากจํานวน ศตวรรษิกชนตามหลักฐานทะเบียนราษฎรจํานวน 429 ราย มีเพียง 43 รายเท่านั้น หรือเพียงร้อยละ 10 ของจํานวนศตวรรษิกชนที่ปรากฎในทะเบียนมีอายุมากกว่าหนึ่งร้อยปี ขึ้นไป อีกร้อยละ 90 พบว่าได้เสียชีวิตไปแล้ว และบางรายมีอายุน้อยกว่า 100 ปี อายุของบุคคลที่สูงกว่า 106 ปี ตามทะเบียนราษฎร พบวามีความไม่ถูกต้องในการบันทึกข้อมูล และมีการรายงานอายุ เกินความเป็นจริง นอกจากนี้ยังพบว่า ความไม่สมบูรณ์ในการจดทะเบียนตาย และการรายงานอายุผิดพลาด เป็นปัจจัยสําคัญในการ ทําให้จํานวนศตวรรษิกชนไทยในทะเบียนราษฎรสูงเกินความเป็นจริง
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Institute for Population and Social Research
Degree Discipline
Demography
Degree Grantor(s)
Mahidol University