Determination of oil and hydrocarbon from latex plants for liquid fuel
Issued Date
2005
Copyright Date
2005
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 84 leaves : ill. (some col.)
ISBN
9740459706
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Appropriate Technology for Resources and Environmental Development))--Mahidol University, 2005
Suggested Citation
Kamolrat Photi Determination of oil and hydrocarbon from latex plants for liquid fuel. Thesis (M.Sc. (Appropriate Technology for Resources and Environmental Development))--Mahidol University, 2005. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/106047
Title
Determination of oil and hydrocarbon from latex plants for liquid fuel
Alternative Title(s)
การหาปริมาณน้ำมันและสารไฮโดรคาร์บอนจากพืชน้ำยางเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงเหลว
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of this work was to determine the quantity of oil and hydrocarbon in latex plants for liquid fuel. Eleven species of the latex plants in Euphorbiaceae, Asclepiadaceae, Moraceae, and Apocynaceae were selected as samples. These plants were prepared and classified by solvent extraction using acetone, hexane, ethanol and cyclohexane for oil, hydrocarbon, and polyphenol fractions, these compounds being commonly known as biocrude. All extractable yields then were weighted and further characterized for elemental analysis and composition by CHNS/O analyzer and GC/MS, respectively. In addition, all obtainable data were statistically processed
using one way ANOVA and DMRT. The results demonstrated that the biocrude ranging from 4.78%-18.13% were produced, with the highest yield appearing with E antiquorum L. (18.13%). For oil, hydrocarbon, and polyphenol yields ranging from 1.89%-6.11%, 0.004%-1.93% and 3.55% to 12.23% were obtained respectively, while E. neriifolia L. (6.11%), P. tithymaloides (L.) Poit. (1.93%), and E. antiquorum L. (12.23%) exhibited the highest oil yields, the greatest amount of hydrocarbon and polyphenol fractions, respectively. The characteristic of these fractions are that they are comprised of carbon,
hydrogen, nitrogen, and oxygen, in which the major component in oil and hydrocarbon fractions are fatty acid and paraffin series, including terpene and naphthene in minor proportion. In addition, a small portion of the aromatic and heteroatom compounds were present. In consideration of the H/C ratio, it appeared that extractable biocrude, oil, hydrocarbon, and polyphenol ranged from 1.59-2.13, 1.60-2.15, 1.42-1.76, and 1.95-4.94 respectively, which is
similar to crude oil (1.81), fuel oil (1.68) and gasoline (2.08). These results demonstrated that all eleven-plant species of latex plants are potentially energy producing plants with the promising plants in Euphorbiaceae of interest for further development.
วัตถุประสงค์ในการศึกษานี้เพื่อหาปริมาณน้ำมันและสารไฮโดรคาร์บอนจากพืชน้ำยางเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงเหลว พืชที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ พืชที่ให้น้ำยาง 11 ชนิด ในวงศ์ Euphorbiaceae Asclepiadaceae Moraceae และ Apocynaceae โดยการใช้ตัวทำละลาย acetone hexane ethanol และ cyclohexane ในการสกัด ส่วนที่สกัดได้จากพืชจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนของ oil hydrocarbon และ ส่วนของ polyphenol โดยทั้งสามส่วนรวมเรียกว่า biocrude ผลผลิตที่ได้จากการสกัดทุกส่วนนำมาชั่งหาน้ำหนักวิเคราะห์หาองค์ประกอบธาตุโดยเครื่อง CHNS/O analyzer และส่วนประกอบของสารโดย GC/MS โดยทดสอบความแตกต่างของปริมาณสารไฮโดรคาร์บอนที่สกัดได้จากพืชในแต่ละชนิด โดยใช้สถิติ one way ANOVA และใช้ DMRT ทดสอบความแตกต่างของแต่ละกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่าปริมาณ biocrude มีค่าในช่วงร้อยละ 4.78%-18.13 โดย E. antiquorum L. (ร้อยละ 18.13) ให้ปริมาณ biocrude สูงสุด ในส่วนของ oil ให้ปริมาณร้อยละ 1.89 ถึง 6.11 ในส่วนของ hydrocarbon และ polyphenol ให้ปริมาณในช่วงร้อยละ 0.004 ถึง 1.93 และร้อยละ 3.55 ถึง 12.23 ตามลำดับ โดยพืชที่ให้ปริมาณ oil สูงได้แก่ E. neriifolia L. ร้อยละ 6.11 พืชที่ให้ปริมาณ hydrocarbon สูงได้แก่ P. tithymaloides (L.) Poit. ร้อยละ 1.93 และพืชที่ให้ปริมาณ polyphenol สูงได้แก่ ร้อยละ 12.23 การศึกษาองค์ประกอบธาตุพบว่าองค์ประกอบหลักในส่วนต่างๆ ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนี้ในส่วนของ oil และ hydrocarbon พบ สารจำพวก fatty acid และ สารในกลุ่ม paraffin เป็นองค์ประกอบหลัก และสารในกลุ่มของ terpene และ naphthene เป็นองค์ประกอบรอง และสารในกลุ่มของ aromatic และ heteroatom ในสัดส่วนที่น้อยที่สุด เมื่อพิจารณาอัตราส่วน H/C ในส่วนของ biocrude oil hydrocarbon และ polyphenol พบว่ามีค่าในช่วง 1.59-2.13 1.60-2.15 1.42-1.76 และ 1.95-4.94 ตามลำดับ โดยอัตราส่วน H/C ดังกล่าวมีค่าใกล้เคียงกับค่า H/C ของ crude oil (1.81) fuel oil (1.68) และ gasoline (2.08) โดยผลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าพืชที่ให้น้ำยางทั้ง 11 ชนิดมีศักยภาพเป็นพืชให้ พลังงานได้ โดยเฉพาะพืชในวงศ์ Euphorbiaceae ซึ่งมีความน่าสนใจที่จะพัฒนาเป็นแหล่งเชื้อเพลิงเหลวต่อไป
วัตถุประสงค์ในการศึกษานี้เพื่อหาปริมาณน้ำมันและสารไฮโดรคาร์บอนจากพืชน้ำยางเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงเหลว พืชที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ พืชที่ให้น้ำยาง 11 ชนิด ในวงศ์ Euphorbiaceae Asclepiadaceae Moraceae และ Apocynaceae โดยการใช้ตัวทำละลาย acetone hexane ethanol และ cyclohexane ในการสกัด ส่วนที่สกัดได้จากพืชจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนของ oil hydrocarbon และ ส่วนของ polyphenol โดยทั้งสามส่วนรวมเรียกว่า biocrude ผลผลิตที่ได้จากการสกัดทุกส่วนนำมาชั่งหาน้ำหนักวิเคราะห์หาองค์ประกอบธาตุโดยเครื่อง CHNS/O analyzer และส่วนประกอบของสารโดย GC/MS โดยทดสอบความแตกต่างของปริมาณสารไฮโดรคาร์บอนที่สกัดได้จากพืชในแต่ละชนิด โดยใช้สถิติ one way ANOVA และใช้ DMRT ทดสอบความแตกต่างของแต่ละกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่าปริมาณ biocrude มีค่าในช่วงร้อยละ 4.78%-18.13 โดย E. antiquorum L. (ร้อยละ 18.13) ให้ปริมาณ biocrude สูงสุด ในส่วนของ oil ให้ปริมาณร้อยละ 1.89 ถึง 6.11 ในส่วนของ hydrocarbon และ polyphenol ให้ปริมาณในช่วงร้อยละ 0.004 ถึง 1.93 และร้อยละ 3.55 ถึง 12.23 ตามลำดับ โดยพืชที่ให้ปริมาณ oil สูงได้แก่ E. neriifolia L. ร้อยละ 6.11 พืชที่ให้ปริมาณ hydrocarbon สูงได้แก่ P. tithymaloides (L.) Poit. ร้อยละ 1.93 และพืชที่ให้ปริมาณ polyphenol สูงได้แก่ ร้อยละ 12.23 การศึกษาองค์ประกอบธาตุพบว่าองค์ประกอบหลักในส่วนต่างๆ ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนี้ในส่วนของ oil และ hydrocarbon พบ สารจำพวก fatty acid และ สารในกลุ่ม paraffin เป็นองค์ประกอบหลัก และสารในกลุ่มของ terpene และ naphthene เป็นองค์ประกอบรอง และสารในกลุ่มของ aromatic และ heteroatom ในสัดส่วนที่น้อยที่สุด เมื่อพิจารณาอัตราส่วน H/C ในส่วนของ biocrude oil hydrocarbon และ polyphenol พบว่ามีค่าในช่วง 1.59-2.13 1.60-2.15 1.42-1.76 และ 1.95-4.94 ตามลำดับ โดยอัตราส่วน H/C ดังกล่าวมีค่าใกล้เคียงกับค่า H/C ของ crude oil (1.81) fuel oil (1.68) และ gasoline (2.08) โดยผลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าพืชที่ให้น้ำยางทั้ง 11 ชนิดมีศักยภาพเป็นพืชให้ พลังงานได้ โดยเฉพาะพืชในวงศ์ Euphorbiaceae ซึ่งมีความน่าสนใจที่จะพัฒนาเป็นแหล่งเชื้อเพลิงเหลวต่อไป
Description
Appropriate Technology for Resources and Environmental Development (Mahidol University 2005)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Appropriate Technology for Resources and Environmental Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University