A structural equation model of the maternal identity among primiparous teenage mothers under the 5th health region catchment area of Thailand

dc.contributor.advisorWirin Kittipichai
dc.contributor.advisorKanittha Chamroonsawasdi
dc.contributor.advisorPimsurang Taechaboonsermsak
dc.contributor.authorSuphawadee Panthumas
dc.date.accessioned2024-01-03T06:02:06Z
dc.date.available2024-01-03T06:02:06Z
dc.date.copyright2018
dc.date.created2018
dc.date.issued2024
dc.descriptionFamily Health (Mahidol University 2018)
dc.description.abstractMaternal identity, MI, remains the attainment of maternal role adaptation. Though the role of motherhood is expected to play, teenagers are still developing on personal identity and do not always clearly identify the role of the mother. The cross-sectional correlation study aimed to (1) assess the MI, and (2) develop the structural equation model of MI among primiparous teenage mothers. The samples were 353 primiparous Thai teenagers who were pregnant under the age of 20 years, residing together with their infants aged between 4 and 12 months under the catchment area of the 5th Health Region. Data were collected through a self-administered questionnaire, reliability coefficients of six scales ranged from 0.81 to 0.93 and construct validity was verified. A structural equation modeling technique was performed to test the causal model of MI to empirical data undertaken using Mplus Software. The result revealed that almost 60% of the subjects were at a good level of overall MI score followed by about 35%, and 5% at moderate and poor levels, respectively. The causal model of MI provided fit well to the empirical data (χ2/df = 2.17, CFI = 0.92, TLI = 0.91, RMSEA = 0.06, SRMR = 0.05). A set of antecedent factors of the model explained 62% of the variance in MI. Three constructs, i.e., infant temperament, strain, and social support had a direct effect on MI (path coefficient = 0.47, -0.42, 0.12, respectively) while the self-esteem and balanced family functioning had an indirect effect on MI. The infant temperament had the highest total effect on MI and the strain was an important mediator of the model. The findings led to recommendations that the maternal and child health policy makers should establish a policy to strongly promote the quality of MI during the one-year postpartum period of teenage mothers. Health providers or home health care team should have well-planned and powerful activities, both in the health agency and community that could be managed to increase self-esteem of teenage mothers, whose effect is to decrease their strain while promoting positive perception of their infants' temperament. Nevertheless, the expectation of the teenage mother toward her spouse and family's response must be given heed along with increasing social support especially emotional and appraisal support to diminish their strain and further develop their MI.
dc.description.abstractอัตลักษณ์ความเป็นมารดาคือ ผลสำเร็จของกระบวนการพัฒนาบทบาทการเป็นมารดา มารดาวัยรุ่น ยังอยู่ในช่วงพัฒนาอัตลักษณ์ตนเอง ดังนั้นการพัฒนาอัตลักษณ์ความเป็นมารดาจึงเป็นเรื่องยาก การศึกษาความสัมพันธ์เชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินอัตลักษณ์ความเป็นมารดา และ (2) พัฒนาแบบจำลองสมการโครงสร้างเชิงเส้นของอัตลักษณ์ความเป็นมารดา ของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก ตัวอย่างเป็นมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรกอายุ 4 ถึง 12 เดือน และตั้งครรภ์ขณะอายุต่ำกว่า 20 ปี โดยทั้งมารดาวัยรุ่นและทารกอาศัยอยู่ด้วยกันในเขตสุขภาพที่ 5 จำนวน 353 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง แบบวัดตัวแปร 6 ชุด มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง 0.81 ถึง 0.93 และมีความตรงเชิงโครงสร้าง การวิเคราะห์ขอ้ มูลใชก้ ารวิเคราะห์สมการโครงสร้างเชิงเส้นด้วยโปรแกรม Mplus เพื่อทดสอบความกลมกลืนของแบบจำลองกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยพบว่า มารดาวัยรุ่นมีอัตลักษณ์ความเป็นมารดาอยู่ในระดับดี ปานกลาง และไม่ดี ร้อยละ 60, 35 และ 5 ตามลำดับ แบบจำลองเชิงสาเหตุของอัตลักษณ์ความเป็นมารดาที่พัฒนาขึ้นมีความกลมกลืนดีกับข้อมูล เชิงประจักษ์ (χ2/df = 2.17, CFI = 0.92, TLI = 0.91, RMSEA = 0.06, SRMR = 0.05) และปัจจัยนำในแบบจำลองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของอัตลักษณ์ความเป็นมารดาได้ร้อยละ 62 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตลักษณ์ความเป็นมารดามีดังนี้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรง ได้แก่ พื้นฐานอารมณ์ของบุตร ความตึงเครียด และการสนับสนุนทางสังคม (ค่า สปส. เส้นทาง คือ 0.47, -0.42, และ 0.12 ตามลำดับ) ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อม ได้แก่ การเห็นคุณค่าในตัวเอง และความสมดุลของการทำหน้าที่ครอบครัว และปัจจัยที่มีอิทธิพลรวมสูงสุด ได้แก่ พื้นฐานอารมณ์ของบุตร โดยความตึงเครียดเป็นตัวแปรคั่นกลางที่สำคัญในแบบจำลองที่พัฒนาขึ้น จากผลการศึกษาจึงมีข้อเสนอแนะให้ผู้กำหนดนโยบายด้านอนามัยแม่และเด็ก ควรมีนโยบายในการส่งเสริมอัตลักษณ์ความเป็นมารดาอย่างจริงจังในมารดาวัยรุ่นในช่วงหลังคลอด 1 ปี บุคลากรทางสุขภาพหรือทีมเยี่ยมบ้านควรจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตัวเอง ด้วยจะมีผลต่อการลดความตึงเครียด และส่งเสริมการรับรู้พื้นฐานอารมณ์ของบุตรเชิงบวกในมารดาวัยรุ่น โดยควรมีกิจกรรมทั้งสถานพยาบาลและในชุมชน ทั้งนี้ควรให้ความสำคัญกับความคาดหวังของมารดาวัยรุ่นต่อการดูแลเอาใจใส่จากสามีและครอบครัวโดยเฉพาะการสนับสนุนด้านอารมณ์และการชื่นชม ด้วยเป็นปัจจัยที่จะช่วยลดความตึงเครียดและเพื่อพัฒนาอัตลักษณ์ความเป็นมารดาต่อไป
dc.format.extentxii, 161 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Dr.P.H. (Family Health))--Mahidol University, 2018
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91644
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectMother and infant
dc.subjectTeenage mothers -- Thailand
dc.subjectSelf-esteem
dc.subjectStress management for women
dc.titleA structural equation model of the maternal identity among primiparous teenage mothers under the 5th health region catchment area of Thailand
dc.title.alternativeแบบจำลองสมการโครงสร้างเชิงเส้นของอัตลักษณ์ความเป็นมารดาของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรกในเขตสุขภาพ ที่ 5 ประเทศไทย
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/541/5638481.pdf
thesis.degree.departmentMahidol University. Faculty of Public Health
thesis.degree.disciplineFamily Health
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Public Health

Files

Collections