การพัฒนาระบบการร้องขอบริการจากหน่วยงานเวรเปล ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
Issued Date
2558
Resource Type
Language
tha
Call No.
W3 ก482ห ครั้งที่ 3 2558 [LIPR, LILC, LICL, LIVS, LIGJ, LIRA]
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล
Physical Location
Institute for Population and Social Research Library
Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Central Library
Faculty of Veterinary Science Library
Golden Jubilee Medical Center Library
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Library
Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Central Library
Faculty of Veterinary Science Library
Golden Jubilee Medical Center Library
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Library
Suggested Citation
จิรศักดิ์ มากงลาด, ไพฑูรย์ สายจำปา (2558). การพัฒนาระบบการร้องขอบริการจากหน่วยงานเวรเปล ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/11205
Title
การพัฒนาระบบการร้องขอบริการจากหน่วยงานเวรเปล ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
Alternative Title(s)
การพัฒนาระบบการร้องขอบริการจากหน่วยงานเวรเปล ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการร้องขอบริการจากหน่วยงานเวรเปลให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเพื่อวิเคราะห์ปัญหาสาเหตุการร้องขอบริการเจ้าหน้าที่เวรเปลโดยไม่เกิดคุณค่ากับงาน(Waste) โดยนําผลการวิจัยที่ได้ไปพัฒนางานประจํา ซึ่งการวิจัยครั้งนี้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนธันวาคม ๒๕๕๖ – กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ สถิติที่ใช้ในการวิจัยใช้สถิติพรรณนา เช่น ค่าเฉลี่ย ( x ) ความถี่และร้อยละ (Percentage) ผลการวิจัย พบว่า ๑. มีการเรียกใช้บริการหน่วยเวรเปลโดยไม่เกิดงาน (WASTE) ๙๖ ครั้งจาก ๑๗ หน่วยงาน อันดับ ๑ คือ OPD ๒ จํานวน ๒๔ ครั้ง อันดับ ๒ คือ OPD๑/PT จํานวน ๑๑ ครั้ง และอันดับ ๓ คือ ER/IPD ๒ จํานวน ๑๐ ครั้ง ๒. สาเหตุการเรียกใช้บริการหน่วยเวรเปลโดยไม่เกิดงาน(WASTE) อันดับ ๑ คือ ขอเจ้าหน้าที่ซ้ำซ้อน/ยกเลิก จํานวน ๔๕ ครั้ง เฉลี่ย ๑๕ ครั้งต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ ๔๖.๘๘ อันดับที่ ๒ คือ ขอเจ้าหน้าที่ไปแล้วคนไข้ไม่พร้อม/ไม่ต้องการ จํานวน ๒๖ ครั้ง เฉลี่ย ๘.๖๗ ครั้งต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ ๒๗.๒๘ อันดับที่ ๓ คือ ขอเจ้าหน้าที่ไปแล้วไม่มีคนไข้จํานวน ๙ ครั้ง เฉลี่ย ๓ ครั้งต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ ๙.๓๘ ทําให้เจ้าหน้าที่ต้องสูญเสียเวลาในการทํางานไปทั้งหมด ๙๔๙ นาที (๑๕ ชั่วโมง ๔๙ นาที) เป็นระยะทาง ๑๑,๙๙๖ เมตร (๑๑.๙๙๖ กิโลเมตร) โดยจากสถิติที่สูงขึ้นมีผลทําให้สูญเสียเวลาในการทํางานในแต่ละเดือนรวมเวลาไม่น้อยกว่า ๕ ชั่วโมงต่อเดือน
The purposes of this research were develop of transference system in Golden Jubilee Medical and performance analysis is requested service have waste jobs. This research information collection during December ๒๐๑๓ to February ๒๐๑๔.The statistics used in research by Descriptive such as average, frequency and Percentage. The results of the Study were as follow: ๑. Have requested service without waste jobs ๙๖ timesfrom ๑๗ division. The first is department of OPD๒, ๒๔ times.The second is OPD๑/PT, ๑๑ times.The third is ER/IPD๒, ๑๐ times. ๒. Cause requested service have waste jobs. The firstis request staff is duplicate or cancel, ๔๕ times, average is ๑๕ times per month, ๔๖.๘๘ percentage. The second is patients not ready or not request, ๒๖ times, average ๘.๖๗ times per month, ๒๗.๒๘ percentage. The third is request staff but there are no patients, ๙ times, average ๓ times per month, ๙.๓๘ percentage. Form this statistics as a result staff loss of working time ๙๘๙ minutes (๑๕ hours ๔๙ minutes), distance ๑๑,๙๙๖ meters (๑๑,๙๙๖ kilometers). Form high statistics as a result loss time working ๕ hours per month.
The purposes of this research were develop of transference system in Golden Jubilee Medical and performance analysis is requested service have waste jobs. This research information collection during December ๒๐๑๓ to February ๒๐๑๔.The statistics used in research by Descriptive such as average, frequency and Percentage. The results of the Study were as follow: ๑. Have requested service without waste jobs ๙๖ timesfrom ๑๗ division. The first is department of OPD๒, ๒๔ times.The second is OPD๑/PT, ๑๑ times.The third is ER/IPD๒, ๑๐ times. ๒. Cause requested service have waste jobs. The firstis request staff is duplicate or cancel, ๔๕ times, average is ๑๕ times per month, ๔๖.๘๘ percentage. The second is patients not ready or not request, ๒๖ times, average ๘.๖๗ times per month, ๒๗.๒๘ percentage. The third is request staff but there are no patients, ๙ times, average ๓ times per month, ๙.๓๘ percentage. Form this statistics as a result staff loss of working time ๙๘๙ minutes (๑๕ hours ๔๙ minutes), distance ๑๑,๙๙๖ meters (๑๑,๙๙๖ kilometers). Form high statistics as a result loss time working ๕ hours per month.
Description
การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกครั้งที่ 3. ห้องอัมรินทร์ โรงแรมเอส ดี อเวนิว ปิ่นเกล้า, กรุงเทพฯ. 3 เมษายน 2558. หน้า 95-116