ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์
Issued Date
2567
Copyright Date
2563
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฏ, 121 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2563
Suggested Citation
ภัคพร สิงห์ทอง ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์ . สารนิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2563 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91970
Title
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์
Alternative Title(s)
The relationship between public sector management quality and the success of the treasury department
Author(s)
Abstract
การศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน ของกรมธนารักษ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรมธนารักษ์และระดับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์ 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรกรมธนารักษ์ที่สังกัดหน่วยงานส่วนกลาง จำนวน 329 คน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรมธนารักษ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 3.95, SD = 0.56) ระดับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 3.89, SD = 0.58) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (r = 0.68) การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของกรมธนารักษ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า บุคลากรกรมธนารักษ์ที่มีเพศ อายุ และประเภทบุคลากรที่แตกต่างกัน มีระดับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานไม่แตกต่างกัน แต่บุคลากรกรมธนารักษ์ที่มีระดับการศึกษาระยะเวลาการทำงาน และสายงานที่แตกต่างกัน มีระดับผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
This research on aimed to 1) to study the level of the quality of public sector management of the Treasury Department and the level of the success of the Treasury Department; 2) to study the relationship between the quality of public sector management and the success of the Treasury Department, and 3) to study and compare the differences between the success of the Treasury Department classified by personal factors. The sample consisted of 329 personnel of the Treasury Department under the central department. This research used quantitative research methods, and used questionnaires for data collection as tools. The quantitative data analysis used statistics, frequency, percentage, mean, standard deviation and the Pearson product moment correlation coefficient. The results of the research revealed that the overall quality of public sector management of the Treasury Department, (x = 3.95, S.D. = 0.56) and the level of success of the Treasury Department in general were at a high level (x = 3.89, S.D. = 0.58). However, relationship between the quality of public sector management and the success of the Treasury Department overall was at a medium level (r = 0.68). The comparison of differences between success of the Treasury Department, classified by personal factors found that the Treasury Department personnel with different gender, age and personnel types showed no significant difference in success levels at 0.05. This research suggests that the public sector management should determine the main policy of organization for sustainable development. Moreover, in the next research, a similar study should be conducted with other organization to get a more comprehensive development approach.
This research on aimed to 1) to study the level of the quality of public sector management of the Treasury Department and the level of the success of the Treasury Department; 2) to study the relationship between the quality of public sector management and the success of the Treasury Department, and 3) to study and compare the differences between the success of the Treasury Department classified by personal factors. The sample consisted of 329 personnel of the Treasury Department under the central department. This research used quantitative research methods, and used questionnaires for data collection as tools. The quantitative data analysis used statistics, frequency, percentage, mean, standard deviation and the Pearson product moment correlation coefficient. The results of the research revealed that the overall quality of public sector management of the Treasury Department, (x = 3.95, S.D. = 0.56) and the level of success of the Treasury Department in general were at a high level (x = 3.89, S.D. = 0.58). However, relationship between the quality of public sector management and the success of the Treasury Department overall was at a medium level (r = 0.68). The comparison of differences between success of the Treasury Department, classified by personal factors found that the Treasury Department personnel with different gender, age and personnel types showed no significant difference in success levels at 0.05. This research suggests that the public sector management should determine the main policy of organization for sustainable development. Moreover, in the next research, a similar study should be conducted with other organization to get a more comprehensive development approach.
Description
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2563)
Degree Name
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล