Acute effect of modified Thai yoga on energy cost and metabolic intensity in obese older adult Thai women
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 101 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Kittipun Jitvimolnimit Acute effect of modified Thai yoga on energy cost and metabolic intensity in obese older adult Thai women. Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92189
Title
Acute effect of modified Thai yoga on energy cost and metabolic intensity in obese older adult Thai women
Alternative Title(s)
ผลเฉียบพลันชองฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์ต่ออัตราการใช้พบังงานและอัตราการเผาผลาญในผู้สูงอายุเพศหญิงชาวไทยที่มีภาวะอ้วน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The purpose of this study was to investigate an effect of modified Thai Yoga on metabolic intensity and energy expenditure in obese older adult Thai women. Twenty-six participants ages 56 - 75 years old were divided into two groups: non-obese group (NB) and obese group (OB) using Asia-Pacific body mass index (BMI). After 12 sessions of familiarization, they performed a modified Thai Yoga exercise program for 60 minutes. The energy expenditure and metabolic variables were measured by Jaeger Oxycon mobile throughout the experiment. The results indicated that at the exercise phase, the mean oxygen consumption for the OB group was 7.52?1.09 ml/min/kg and 8.44?0.90 ml/min/kg for the NB group. The mean metabolic equivalent (MET) for the OB group was 2.15?0.31 MET and 2.41?0.06 MET for the NB group. The mean percentages for maximum heart rate for the OB group and NB group were 57.43?6.32% and 59.89?7.94%, respectively. Total energy expenditure for the OB group and NB group differed significantly between groups (p < 0.05). It was concluded that modified Thai Yoga program was a light intensity exercise and could be prescribed as an optional exercise program for obese older adults.
จุดประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อทำการศึกษาผลของฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์ต่ออัตราการเผาผลาญและอัตราการใช้พลังงานในผู้สูงอายุเพศหญิงชาวไทย โดยผู้เข้าร่วมการวิจัย 26 คนช่วงอายุระหว่าง 56-75 ปีจะถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่มได้แก่ กลุ่มผู้ที่มีรูปร่างอ้วน(OB) และ กลุ่มผู้ที่มีรูปร่างสมส่วน (NB) โดยใช้เกณฑ์ดัชนีมวลกายแบบเอเชีย-แปซิฟิกเป็นเกณฑ์คัดเข้ากลุ่ม หลังจากที่ผู้เข้าร่วมวิจัยทำความคุ้นเคยกับโปรแกรมฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์เป็นเวลา 12 ครั้ง ผู้เข้าร่วมวิจัย ทุกคนจะออกกำลังกายด้วยโปรแกรมฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์เป็นระยะเวลา 60 นาที โดยตัวแปรอัตราการใช้พลังงานและอัตราการเผาผลาญจะวัดโดยเครื่อง Jaeger Oxycon mobile จากผลการศึกษาพบว่าในขณะที่ออกกำลังกายนั้น ค่าเฉลี่ยการใช้ออกซิเจนในกลุ่ม OB อยู่ที่ 7.52±1.09 มิลลิลิตร/นาที/กิโลกรัม และกลุ่ม NB อยู่ที่ 8.44±0.90 มิลลิลิตร/นาที/กิโลกรัม ค่าเฉลี่ย metabolic equivalent (MET) ในกลุ่ม OB อยู่ที่ 2.15±0.31 MET และกลุ่ม NB อยู่ที่ 2.41±0.06 MET ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นอัตราการเต้นหัวใจสูงสุดในกลุ่ม OB และกลุ่ม NB อยู่ที่ 57.43±6.32% และ 59.89±7.94% ตามลำดับ อัตราการใช้พลังงานรวมในกลุ่ม OB และกลุ่ม NB มีความแตกต่างอย่างมีนัยยสำคัญระหว่างกลุ่ม (p < 0.05) จากผลการศึกษ าแส ดงให้เห็นว่าฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์เป็นการออกกำลังที่มีความหนักในการออกกำลังกายแบบ "เบา" ที่เหมาะสมเป็นทางเลือกในการออกกำลังกายในผู้สูงอายุที่มีภาวะอ้วน
จุดประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อทำการศึกษาผลของฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์ต่ออัตราการเผาผลาญและอัตราการใช้พลังงานในผู้สูงอายุเพศหญิงชาวไทย โดยผู้เข้าร่วมการวิจัย 26 คนช่วงอายุระหว่าง 56-75 ปีจะถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่มได้แก่ กลุ่มผู้ที่มีรูปร่างอ้วน(OB) และ กลุ่มผู้ที่มีรูปร่างสมส่วน (NB) โดยใช้เกณฑ์ดัชนีมวลกายแบบเอเชีย-แปซิฟิกเป็นเกณฑ์คัดเข้ากลุ่ม หลังจากที่ผู้เข้าร่วมวิจัยทำความคุ้นเคยกับโปรแกรมฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์เป็นเวลา 12 ครั้ง ผู้เข้าร่วมวิจัย ทุกคนจะออกกำลังกายด้วยโปรแกรมฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์เป็นระยะเวลา 60 นาที โดยตัวแปรอัตราการใช้พลังงานและอัตราการเผาผลาญจะวัดโดยเครื่อง Jaeger Oxycon mobile จากผลการศึกษาพบว่าในขณะที่ออกกำลังกายนั้น ค่าเฉลี่ยการใช้ออกซิเจนในกลุ่ม OB อยู่ที่ 7.52±1.09 มิลลิลิตร/นาที/กิโลกรัม และกลุ่ม NB อยู่ที่ 8.44±0.90 มิลลิลิตร/นาที/กิโลกรัม ค่าเฉลี่ย metabolic equivalent (MET) ในกลุ่ม OB อยู่ที่ 2.15±0.31 MET และกลุ่ม NB อยู่ที่ 2.41±0.06 MET ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นอัตราการเต้นหัวใจสูงสุดในกลุ่ม OB และกลุ่ม NB อยู่ที่ 57.43±6.32% และ 59.89±7.94% ตามลำดับ อัตราการใช้พลังงานรวมในกลุ่ม OB และกลุ่ม NB มีความแตกต่างอย่างมีนัยยสำคัญระหว่างกลุ่ม (p < 0.05) จากผลการศึกษ าแส ดงให้เห็นว่าฤๅษีดัดตนแบบประยุกต์เป็นการออกกำลังที่มีความหนักในการออกกำลังกายแบบ "เบา" ที่เหมาะสมเป็นทางเลือกในการออกกำลังกายในผู้สูงอายุที่มีภาวะอ้วน
Description
Sports Science (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Sports Science and Technology
Degree Discipline
Sports Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University