อิสรภาพ บนเส้นทางความเป็นครูของฉัน

dc.contributor.advisorเพริศพรรณ แดนศิลป์
dc.contributor.advisorหิมพรรณ รักแต่งาม
dc.contributor.authorปรางฉาย คชศิลา
dc.date.accessioned2024-01-05T02:02:15Z
dc.date.available2024-01-05T02:02:15Z
dc.date.copyright2561
dc.date.created2561
dc.date.issued2567
dc.descriptionจิตตปัญญาศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสืบค้นความเข้าใจและความหมายของอิสรภาพผ่านการเป็นครูของผู้วิจัย ทั้งนี้ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบเรื่องเล่าแนวอัตชีวประวัติ (Autobiography) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งในการวิจัยแบบเรื่องเล่า (Narrative Inquiry) กระบวนการสืบค้นความเข้าใจและความหมายของอิสรภาพแบ่งออกเป็น 4 ช่วงเวลาดังนี้ ช่วงที่ 1 หญิงสาวผู้รักอิสระ ช่วงที่ 2 โยคีผู้เคร่งขรึม ช่วงที่ 3 ครูผู้ตื่นรู้ ช่วงที่ 4 นักเรียนผู้วางใจชีวิต ผลการวิจัยพบว่าความหมายของอิสรภาพแปรเปลี่ยนไปตามประสบการณ์ชีวิต ดังนี้ 1) อิสรภาพ คือ ความสามารถในการเลือกและทำสิ่งต่างๆ ตามใจต้องการ 2) อิสรภาพ คือ การหลุดพ้นจากความทุกข์หรือการเอาชนะกิเลส 3) อิสรภาพ คือ สภาวะดั้งเดิมที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติและเป็นแก่นแท้ของชีวิต 4) อิสรภาพ คือ การหยุดดิ้นรนและการยอมรับเหตุการณ์ที่กำลังปรากฏอยู่ตรงหน้าด้วยความเต็มใจผู้วิจัยพบว่ากระบวนการบ่มเพาะความหมายของอิสรภาพมีที่มาจาก 2 ปัจจัยหลักได้แก่ 1) การฝึกฝนทักษะการสังเกตตนเอง 2) การอยู่ในชุมชนที่สนใจการพัฒนามิติทางจิตวิญญาณ
dc.description.abstractThe aim of this research is to inquire into the meaning and understanding of freedom through the researcher's career path as a teacher. Autobiography approach, one of the Narrative Inquiry methodology, was used for conducting the research. The process of inquiring into the meaning and understanding of freedom was divided into 4 stages as follows: 1) An independent woman 2) A solemn practitioner 3) An awakening teacher 4) A life-entrusted student The meaning of freedom was gradually shifted according to the researcher's life experiences which are 1) Freedom is the ability to choose and do whatever one wants 2) Freedom is to liberate from sufferings and overcome desires 3) Freedom is the default state of mind which is an ultimate essence of being 4) Freedom is to surrender and accept situations willingly The researcher found that the understanding process was cultivated from two main factors: 1) Practicing self-observation skill 2) Engaging with spiritual communities
dc.format.extentก-ญ, 158 แผ่น : ภาพประกอบ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (จิตตปัญญาศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91874
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectครู -- ทัศนคติ
dc.subjectครู -- จรรยาบรรณ
dc.subjectครู -- การประเมินตนเอง
dc.titleอิสรภาพ บนเส้นทางความเป็นครูของฉัน
dc.title.alternativeFreedom on my path of being a teacher
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/541/5637932.pdf
thesis.degree.departmentศูนย์จิตตปัญญาศึกษา
thesis.degree.disciplineจิตตปัญญาศึกษา
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files