Development of liquid chromatography-mass spectrometry for quantitative determination of purines and uric acid in Thai vegetables
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xvi, 121 leaves : ill., tables
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Narisa Rukdee Development of liquid chromatography-mass spectrometry for quantitative determination of purines and uric acid in Thai vegetables. Thesis (M.Sc. (Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94046
Title
Development of liquid chromatography-mass spectrometry for quantitative determination of purines and uric acid in Thai vegetables
Alternative Title(s)
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ลิควิดโครมาโทรกราฟีคู่ควบสเปกโตรเมตรีมวล เพื่อหาปริมาณพิวรีนและกรดยูริกในผักพื้นบ้านไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This study was conducted to determine the amount of uric acid, and three of its precursors i.e., adenosine, guanosine and xanthine, in vegetables that were widely consumed in Thailand. An electrospray liquid chromatography triple quadrupole mass spectrometer (LC-MS/MS) was developed for this approach and caffeine was used as the internal standard. The separation was performed on a C18 column (10 cm x 2.1 mm, 2.7 μm). The mobile phase was a mixture of 0.2 % formic acid in deionized water (solvent A) and 0.1% formic acid in methanol (solvent B). Gradient elution was employed with a total run time of 8.50 minutes. The developed method was then fully validated according to USFDA guidelines. All method analytical performance characteristics were found to be acceptable. Therefore, the developed and validated LC-MS/MS method was applied to determine the amount of adenosine, guanosine, xanthine and uric acid in 18 selected Thai vegetables. The results showed that the contents of the four substances of interest in all vegetables examined in the study had less than 50 mg/100 g of fresh weight. At this concentration level, these vegetables could be classified as containing very low adenosine, guanosine, xanthine and uric acid contents. The results from this study promote valuable information for medical personal, especially hyperuricemia and gout patients, since the official report concerning uric acid and its purine precursors contents in Thai vegetables
การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อหาปริมาณของกรดยูริก และสารตั้งต้นของกรดยูริก 3 ชนิด คือ อะดีโนซีน, กัวโนซีนและแซนทีน ในผักที่มีการบริโภคมากในประเทศไทย วิธีลิควิดโครมาโทกราฟีแบบอิเล็กโตรสเปรย์ แมสสเปคโตรมิเตอร์ชนิดทริปเปิ้ลควอดดรูโพล (LC-MS/MS) ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์นี้ โดยใช้คาเฟอีนเป็นสารมาตรฐานภายใน การแยกถูกทำบนคอลัมน์ C18 (เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.1 มิลลิเมตร, ขนาดพาร์ติเคิล 2.7 ไมโครเมตร) เฟสเคลื่อนที่เป็นส่วนผสมของกรดฟอร์มิก 0.2 % ในน้ำปราศจากอิออน (ตัวทำละลาย A) และกรดฟอร์มิก 0.1 % ในเมทานอล (ตัวทำละลาย B) การชะเป็นแบบ เกรเดียนท์ ใช้เวลาในการแยกทั้งหมด 8.50 นาที วิธีที่พัฒนาแล้วถูกนำมาตรวจความใช้ได้ของวิธีโดยใช้แนวทางของ US-FDA พบว่าคุณลักษณะของการวิเคราะห์ทั้งหมดยอมรับได้ ดังนั้นวิธีการ LC-MS/MS นำมาประยุกต์ เพื่อหาปริมาณของอะดีโนซีน กัวโนซีนแซนทีน และกรดยูริกในผักของไทย ที่เลือกมา 18 ชนิด ผลการตรวจแสดงให้เห็นว่าปริมาณสารที่สนใจทั้ง 4 ในผักทุกชนิดที่นำมาศึกษามีค่าน้อยกว่า 50 มิลลิกรัม/100 กรัม น้ำหนักสด ด้วยระดับความเข้มข้นนี้ทำให้สามารถจัดผักเหล่านี้อยู่ในกลุ่มอาหารที่มี อะดีโนซีน กัวโนซีน แซนทีน และกรดยูริกต่ำมาก ผลการศึกษานี้ได้ข้อมูลที่มีคุณค่าสำหรับบุคลากรทางการแพทย์โดยเฉพาะผู้ป่วยมีภาวะกรดยูริกสูง และผู้ป่วยเก๊าต์ และเนื่องจากยังไม่มีการ รายงานปริมาณของกรดยูริกและสารตั้งต้นกลุ่มพิวรีนในผักของไทยนี้มาก่อน
การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อหาปริมาณของกรดยูริก และสารตั้งต้นของกรดยูริก 3 ชนิด คือ อะดีโนซีน, กัวโนซีนและแซนทีน ในผักที่มีการบริโภคมากในประเทศไทย วิธีลิควิดโครมาโทกราฟีแบบอิเล็กโตรสเปรย์ แมสสเปคโตรมิเตอร์ชนิดทริปเปิ้ลควอดดรูโพล (LC-MS/MS) ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์นี้ โดยใช้คาเฟอีนเป็นสารมาตรฐานภายใน การแยกถูกทำบนคอลัมน์ C18 (เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.1 มิลลิเมตร, ขนาดพาร์ติเคิล 2.7 ไมโครเมตร) เฟสเคลื่อนที่เป็นส่วนผสมของกรดฟอร์มิก 0.2 % ในน้ำปราศจากอิออน (ตัวทำละลาย A) และกรดฟอร์มิก 0.1 % ในเมทานอล (ตัวทำละลาย B) การชะเป็นแบบ เกรเดียนท์ ใช้เวลาในการแยกทั้งหมด 8.50 นาที วิธีที่พัฒนาแล้วถูกนำมาตรวจความใช้ได้ของวิธีโดยใช้แนวทางของ US-FDA พบว่าคุณลักษณะของการวิเคราะห์ทั้งหมดยอมรับได้ ดังนั้นวิธีการ LC-MS/MS นำมาประยุกต์ เพื่อหาปริมาณของอะดีโนซีน กัวโนซีนแซนทีน และกรดยูริกในผักของไทย ที่เลือกมา 18 ชนิด ผลการตรวจแสดงให้เห็นว่าปริมาณสารที่สนใจทั้ง 4 ในผักทุกชนิดที่นำมาศึกษามีค่าน้อยกว่า 50 มิลลิกรัม/100 กรัม น้ำหนักสด ด้วยระดับความเข้มข้นนี้ทำให้สามารถจัดผักเหล่านี้อยู่ในกลุ่มอาหารที่มี อะดีโนซีน กัวโนซีน แซนทีน และกรดยูริกต่ำมาก ผลการศึกษานี้ได้ข้อมูลที่มีคุณค่าสำหรับบุคลากรทางการแพทย์โดยเฉพาะผู้ป่วยมีภาวะกรดยูริกสูง และผู้ป่วยเก๊าต์ และเนื่องจากยังไม่มีการ รายงานปริมาณของกรดยูริกและสารตั้งต้นกลุ่มพิวรีนในผักของไทยนี้มาก่อน
Description
Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Pharmacy
Degree Discipline
Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University