การศึกษากระบวนการประเมินภัยคุกคามที่เป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ ของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.)
Issued Date
2567
Copyright Date
2563
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 101 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2563
Suggested Citation
ลักษิกา สงวนสุข การศึกษากระบวนการประเมินภัยคุกคามที่เป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ ของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.). วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2563. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99541
Title
การศึกษากระบวนการประเมินภัยคุกคามที่เป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ ของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.)
Alternative Title(s)
The study on the threat assessment process to The National Security of the National Security Council (NSC)
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการประเมินภัยคุกคามของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของกระบวนการประเมินภัยคุกคามของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) 3) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการพัฒนากระบวนการประเมินภัยคุกคามของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือ เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติหรือรองเลขาธิการ สภาความมั่นคงแห่งชาติ ผู้ช่วยเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ผู้อำนวยการกอง และเจ้าหน้าที่สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) กระบวนการประเมินภัยคุกคามของ สมช. คือ การนำข้อมูลที่ได้รับจากหน่วยงานด้านการข่าวและความมั่นคงรวมทั้งแหล่งข่าวเปิด มาประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ความมั่นคง ซึ่งหากพบว่าเป็นภัยคุกคามก็จะรายงานต่อผู้บริหารหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการป้องกัน ระงับ ยับยั้งสถานการณ์ทันที 2) ปัญหาและอุปสรรคของกระบวนการประเมินภัยคุกคามของ สมช. ได้แก่ 1. การไม่ให้ความสำคัญต่อภารกิจหน้าที่ของหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน 2. การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ได้รับความร่วมมือที่ดี 3. ศักยภาพของบุคลากรไม่เท่าทันต่อสถานการณ์ภัยคุกคาม 4. บุคลากรไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน 5. การประเมินภัยคุกคามของ สมช. มีเพียงการประเมินในระยะสั้น 6. กลุ่มงานภายในหน่วยงานขาดการบูรณาการข้อมูลร่วมกัน 3) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการประเมินภัยคุกคามของ สมช. ได้แก่ 1. ควรให้ความสำคัญต่อภารกิจหน้าที่ของหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน 2. ควรมีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง 3. ควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 4. ควรเพิ่มจำนวนบุคลากรให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน 5. ควรจัดทำการประเมินภัยคุกคามในระยะยาวควบคู่ไปด้วย 6. กลุ่มงานภายในควรมีการบูรณาการข้อมูลร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
The research aimed to 1) study the threat assessment process of the National Security Council (NSC) . 2) study the problems and obstacles of the threat assessment process of the National Security Council ( NSC) , a n d 3) make policy suggestions for the threat assessment process development of the National Security Council (NSC) . Purposive sampling was used for a total of 15 staff key informants. The research tools were the interview forms. The research results revealed that 1) The NSC's threat assessment process was using the information received from the intelligence and security agencies including open news sources to assess and analyze the security situation. If the information is found to be a threat, it will be reported to the management or relevant department to take immediate action to prevent, suppress, and restrain the situation. 2) Problems and obstacles of the NSC's threat assessment process are: Not giving equal importance to the mission of the work, inadequate coordination with relevant agencies, the potential of staff is not up to the threat situation, insufficient staff to perform their work, the NSC's threat assessment has only a short- term assessment, and the workgroups within the agency lack the integration of information. The policy recommendations for the development of efficiency of the NSC's threat assessment process are as follows: give equal importance to the mission of the agency, promote the continuous development of staff, the number of staff should be increased sufficiently for the work, long-term threat assessment should be carried out, and internal workgroups should implement integrated data sharing.
The research aimed to 1) study the threat assessment process of the National Security Council (NSC) . 2) study the problems and obstacles of the threat assessment process of the National Security Council ( NSC) , a n d 3) make policy suggestions for the threat assessment process development of the National Security Council (NSC) . Purposive sampling was used for a total of 15 staff key informants. The research tools were the interview forms. The research results revealed that 1) The NSC's threat assessment process was using the information received from the intelligence and security agencies including open news sources to assess and analyze the security situation. If the information is found to be a threat, it will be reported to the management or relevant department to take immediate action to prevent, suppress, and restrain the situation. 2) Problems and obstacles of the NSC's threat assessment process are: Not giving equal importance to the mission of the work, inadequate coordination with relevant agencies, the potential of staff is not up to the threat situation, insufficient staff to perform their work, the NSC's threat assessment has only a short- term assessment, and the workgroups within the agency lack the integration of information. The policy recommendations for the development of efficiency of the NSC's threat assessment process are as follows: give equal importance to the mission of the agency, promote the continuous development of staff, the number of staff should be increased sufficiently for the work, long-term threat assessment should be carried out, and internal workgroups should implement integrated data sharing.
Description
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2563)
Degree Name
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล