The development of the essential living skills for successful aging among Thai urban elders

dc.contributor.advisorPraphaphan Un-Ob
dc.contributor.advisorSasipat Yodpet
dc.contributor.advisorArchanya Ratana-Ubol
dc.contributor.advisorJitsuda Limkriengkrai
dc.contributor.authorAim-on Charrurangsri
dc.date.accessioned2023-09-07T02:10:57Z
dc.date.available2023-09-07T02:10:57Z
dc.date.copyright2012
dc.date.created2012
dc.date.issued2023
dc.description.abstractThe present study aims to investigate what constitutes essential living skills for successful aging in the urban areas of Thailand, as well as to formulate guidelines for developing such essential living skills for urban elderly people. A mix of qualitative and quantitative research methods were employed, in which the target group was the elderly who demonstrate good physical and cognitive health, have been living for more than five years in the two Nakorn-level municipalities in Nonthaburi Province, and regularly participate in activities held by senior clubs in the areas. In-depth interviews were initially carried out, from which data on different components of the urban elders' essential living skills were determined. This data was used when developing a questionnaire that was administered to 362 randomly selected individuals. The results of the survey questionnaire were subsequently analyzed using descriptive statistics, and used to develop guidelines for the formulation of a model programme of activities [with a focus on developing the elderly's social interaction skills]. Finally, the programme was evaluated by a panel of experts consisting of representatives of the elderly and specialists in adult learning, and later revised based on their input. The study revealed that essential living skills for successful aging in the urban areas consisted of economic skills, health skills, cognitive and psychological skills, social interaction skills, and spiritual skills. When breaking down each category, the top-ranked skills were the ability to manage one's expenses to match income, the ability to avoid unhealthy habits, the ability to use reasoning when making a decision, the ability to understand or be aware of one's own and others' emotions, the ability to understand and have empathy for others' feelings, and self-esteem. With regard to approaches to developing such living skills, the study found the most appropriate formats to be informal and non-formal learning, which incorporate hands-on workshops or demonstrations that cover the topics of healthcare, social adaptability, religious teachings, art and culture, recreation and hobbies. Outcomes can be evaluated by regular follow-ups, interviews, and observation. In sum, there should be continuing efforts to inculcate in every individual from an early age the essential skills that encompass economic, health, cognitive and psychological, social interaction, and spiritual areas. A variety of educational programmes that are flexible and informal in nature should also be arranged for the elderly to enhance their life skills.
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตเพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จ ในเขตเมือง และเพื่อหาแนวทางการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตเพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จในเขตเมือง ด้วยการวิจัยแบบผสานวิธีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงอายุที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและสติปัญญา ใช้ชีวิตอย่างเป็นปกติอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนครมามากกว่า 5 ปี และเข้าร่วมกิจกรรมชมรมในเขตเทศบาลนครจังหวัดนนทบุรีอย่างต่อเนื่อง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ถึงทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตเพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จในเขตเมือง แล้วจึงนำมาสร้างแบบสอบถามชุดทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตสำหรับผู้สูงอายุในเขตเมืองเพื่อไปสำรวจกับกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติ ใกล้เคียงกับกลุ่มเป้าหมายในขั้นตอนแรกจำนวน 362 คน และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา หลังจากนั้นจึงนำผลการศึกษาที่ได้มาพัฒนาเป็นแนวทางการพัฒนาทักษะที่จำเป็นฯ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์โดยผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้และผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ผลการศึกษา พบว่า ทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตเพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จในเขตเมือง ประกอบด้วยทักษะด้านเศรษฐกิจ ทักษะด้านสุขภาพ ทักษะด้านสติปัญญาและจิตใจ ทักษะด้านสังคมการมีปฏิสัมพันธ์ และ ทักษะด้านจิตวิญญาณ เมื่อจำแนกทักษะที่จำเป็นที่สุดแต่ละรายด้านแล้ว มีดังนี้ ความสามารถในการจัดการรายจ่ายให้เพียงพอกับรายได้ ความสามารถในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ทำลายสุขภาพ ความสามารถในการใช้เหตุผลในการตัดสินใจความสามารถในการเข้าใจและรู้เท่าทันอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น และความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกและเห็นใจผู้อื่น ตลอดจนความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง ตามลำดับสำหรับแนวทางการพัฒนาทักษะที่จำเป็นฯ พบว่ารูปแบบที่เหมาะสมที่สุดคือ การพัฒนาด้วยวิธีการเรียนรู้ตามอัธยาศัยและการเรียนรู้นอกระบบการศึกษา ด้วยวิธีการลงมือปฏิบัติจริงหรือสาธิตให้ดู ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับด้านสุขภาพอนามัย การปรับตัวเข้ากับสังคม หลักคำสอนทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม นันทนาการและงานอดิเรกต่างๆ โดยใช้การประเมินผลการพัฒนาทักษะด้วยวิธีการติดตามเป็นระยะๆ การสัมภาษณ์และสังเกตร่วมกัน ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาทักษะด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านสติปัญญาและจิตใจ ด้านสังคมการมีปฏิสัมพันธ์ และด้านจิตวิญญาณให้แก่บุคคลตั้งแต่วัยเยาว์ ตลอดจนกำหนดเป็นกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยที่นำไปสู่การฝึกทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตเพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จในที่สุด
dc.format.extentix, 170 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Population Education))--Mahidol University, 2012
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89508
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectAging -- Thailand
dc.subjectAging -- Social aspects -- Thailand
dc.subjectWell-being -- Age factors
dc.subjectOlder people -- Health and hygiene.
dc.subjectOlder people -- Mental health
dc.titleThe development of the essential living skills for successful aging among Thai urban elders
dc.title.alternativeการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตเพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จของผู้สูงอายุไทยในเขตเมือง
dcterms.accessRightsrestricted access
mu.link.internalLinkhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2556/cd478/4936613.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Social Sciences and Humanities
thesis.degree.disciplinePopulation Education
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections