ผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคต่อพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช ของเกษตรกรไร่อ้อย

dc.contributor.advisorแอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ
dc.contributor.advisorทัศนีย์ รวิวรกุล
dc.contributor.advisorณัฐกมล ชาญสาธิตพร
dc.contributor.authorจิตติมา ทับชม
dc.date.accessioned2024-01-13T05:17:12Z
dc.date.available2024-01-13T05:17:12Z
dc.date.copyright2557
dc.date.created2567
dc.date.issued2557
dc.descriptionการพยาบาลสาธารณสุข (มหาวิทยาลัยมหิดล 2557)
dc.description.abstractการศึกษาเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎี แรงจูงใจในการป้องกันโรคต่อพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกาจัดวัชพืช ของเกษตรกรไร่อ้อย กลุ่มตัวอย่างจานวน 85 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจานวน 41 คน กลุ่มเปรียบเทียบจานวน 44 คน เลือกตัวอย่างแบบ เจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นซึ่งประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกัน โรค เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามทั้งก่อนการทดลอง หลังการทดลองและระยะติดตามผล วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติ Independent ttest, Chi-square และ Repeated Measure ANOVA โดยกาหนดค่านัยสาคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยด้านการรับรู้ความรุนแรงจากการใช้ สารเคมีกาจัดวัชพืชและการรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการได้รับสารเคมีกาจัดวัชพืชมากขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (p-value<.05) และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยด้านการรับรู้ โอกาสเสี่ยงจากการได้รับสารเคมีกาจัดวัชพืช ความคาดหวังในผลการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจาก การใช้สารเคมีกาจัดวัชพืช ความคาดหวังในความสามารถของตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันอันตราย จากการใช้สารเคมีและพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกาจัดวัชพืชมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value<.05) และในระยะติดตามผลพบว่า กลุ่มทดลองมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการได้รับ สารเคมีกาจัดวัชพืชมากกว่าระยะหลังการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(p-value<.05) ผลการวิจัย มี ข้อเสนอแนะให้ส่งเสริมการรับรู้ความรุนแรงจากการใช้สารเคมีกาจัดวัชพืช การรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการได้รับ สารเคมีกาจัดวัชพืช รวมถึงมีการติดตามกระตุ้นเตือน เพื่อให้เกิดการคงไว้ของการรับรู้และนาสู่การเกิดพฤติกรรม การป้องกันอันตรายจากสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในกลุ่มเกษตรกร
dc.description.abstractThis quasi-experimental study was designed to evaluate the effects of a program applying Protection Motivation Theory on herbicide poisoning prevention behavior sugar cane agricultural workers. Purposive sampling was used to collect data. The 85 samples were divided into two groups. The 41 samples were experimental and 44 samples were a comparison group. The experimental group received activities based on the application of Protection Motivation Theory on herbicide poisoning prevention. Data were collected by using questionnaires before intervention, after intervention and follow-up intervention. Data analysis was performed by using percentage, mean, standard deviation Independent t-test, Chi-square and Repeated Measure ANOVA. Significant level was set at 0.05. Results reveal that after intervention, the experimental group had higher mean scores of perceived severity of herbicide and perceived probability of getting herbicide than before intervention, which showed the statistical significance difference (p-value<.05). When comparing between the two groups at the post-test period, the experimental group had a higher mean score of perceived probability of getting herbicide, response efficacy of behavior of using herbicide, self-efficacy of behavior prevention of using herbicide and herbicide poisoning prevention than those of the comparison group, with showed the statistical significance difference (p-value<.05). At the follow-up period, the experimental group had higher mean scores of perceived probability of getting herbicide than the scores they did at the post-test period, which showed the statistical significance difference (p-value<.05). Findings from this study suggested that the perceived severity of herbicide, perceived probability of getting herbicide and boosting will continue to be recognized to promote pesticide poisoning prevention behavior in agricultural workers.
dc.format.extentก-ฏ, 199 แผ่น : ภาพประกอบ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพยาบาลสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92640
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)
dc.subjectเกษตรกร
dc.subjectยากำจัดศัตรูพืช
dc.subjectสารเคมีทางการเกษตร
dc.titleผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคต่อพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช ของเกษตรกรไร่อ้อย
dc.title.alternativeEffects of a program applying protection motivation theory on herbicide poisoning prevention behavior among sugar cane agricultural workers
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd494/5436185.pdf
thesis.degree.departmentคณะสาธารณสุขศาสตร์
thesis.degree.disciplineการพยาบาลสาธารณสุข
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Files