การศึกษาประเด็นการใช้เครื่องมือวิจัยที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงของ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.contributor.author | นัฐพร อินทวชิรารัตน์ | en_US |
dc.contributor.author | ศรีแพร หนูแก้ว | en_US |
dc.contributor.author | จารุกูล ตรีไตรลักษณะ | en_US |
dc.contributor.author | Nattaporn Intawachirarat | en_US |
dc.contributor.author | Sripair Nookaew | en_US |
dc.contributor.author | Jarugool Tretriluxana | en_US |
dc.contributor.author | Intawachirarat N. | en_US |
dc.contributor.author | Nookaew S. | en_US |
dc.contributor.author | Tretriluxana J. | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด. งานวิจัยและนวัตกรรม | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด. กายภาพบำบัดระบบประสาท | |
dc.date.accessioned | 2014-03-03T08:06:25Z | |
dc.date.accessioned | 2019-03-20T02:38:38Z | |
dc.date.available | 2014-03-03T08:06:25Z | |
dc.date.available | 2019-03-20T02:38:38Z | |
dc.date.created | 2557-03-03 | |
dc.date.issued | 2555-12-06 | |
dc.description | การประชุมวิชาการแห่งชาติ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ตามรอยพระยุคลบาท เกษตรศาสตร์กำแพงแสน. ณ อาคารศูนย์เรียนรวม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, จ.นครปฐม. 6-7 ธันวาคม 2555. หน้า 1074-1081 | |
dc.description.abstract | เครื่องมือวิจัยที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงได้เข้ามามีบทบาทสำคัญสำหรับการพัฒนาองค์ความรู้ และความสามารถในหลากหลายสาขา ณ ปัจจุบันเทคโนโลยีในสาขาชีวการแพทย์ยังมีราคาแพง และต้องการผู้ใช้งานที่มีความสามารถในเชิงลึกและมีทักษะเฉพาะทาง ในคณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล นั้นมีเครื่องมือวิจัยที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงหลายอย่างที่โดดเด่น อย่างไรก็ตามนักวิจัยบางในคณะบางส่วนไม่ชอบที่จะใช้เครื่องมืองานวิจัยเหล่านี้ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาจึงควรศึกษาวิธีการใช้งาน ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและความคาดหวังของเครื่องมือวิจัยจากนักวิจัยในสาขากายภาพบำบัด การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการสำรวจปัญหาเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือวิจัยที่มีเทคโนโลยีชั้นสูง ในคณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียน อาจารย์ และนักบำบัด ที่ใช้เครื่องมือวิจัยที่มีเทคโนโลยีชั้นสูง หัวข้อในแบบสอบถามประกอบด้วยพื้นหลังของผู้วิจัยต่อใช้งานของอุปกรณ์นั้นๆ ปัญหาที่อาจเกิดความคาดหวังสำหรับแนวทางการพัฒนาข้อมูลโดยเฉลี่ย แล้วตีความออกเป็นสามระดับของมาตราส่วนโดยใช้สามเกณฑ์สำหรับการตีความ: เห็นชอบ ไม่แน่ใจ และความไม่เห็นชอบ ในที่สุดผลการสรุปผลสถิติเชิงพรรณนาโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากผลของการศึกษาทำให้ได้วิธีการที่เหมาะสม สำหรับการจัดการและใช้งานเครื่องมือวิจัยที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงของคณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนั้นจึงสามารถเลือกใช้วิธีการและคุณสมบัติของเครื่องมือวิจัยที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงสำหรับใช้ในการวิจัยได้อย่างใช้อย่างเหมาะสมตามประสบการณ์ของนักวิจัย นอกจากนี้ทำให้รู้ถึงปัจจัยในด้านมนุษย์ของนักวิจัยในสาขากายภาพบำบัด เพื่อใช้ในการพัฒนาเครื่องมือวิจัยต่อไป | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/43653 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights.holder | คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | Biomedical instrument | en_US |
dc.subject | Physical therapy | en_US |
dc.title | การศึกษาประเด็นการใช้เครื่องมือวิจัยที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงของ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.title.alternative | Study of Issues Regarding Usage of High-Tech Research Instruments in the Faculty of Physical Therapy, Mahidol University | en_US |
dc.type | Proceeding Article | en_US |
mods.location.url | http://researchconference.kps.ku.ac.th/article_9/pdf/o_human64.pdf |