Family card board-game improves attention and reduces hyperactivity in school-aged children with attention deficit hyperactivity disorder
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 119 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Kamonpot Reamkidkarn Family card board-game improves attention and reduces hyperactivity in school-aged children with attention deficit hyperactivity disorder. Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92181
Title
Family card board-game improves attention and reduces hyperactivity in school-aged children with attention deficit hyperactivity disorder
Alternative Title(s)
เกมกระดานสำหรับครอบครัวช่วยเพิ่มความสนใจจดจ่อและลดอาการซนอยู่ไม่นิ่งในเด็กวัยเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Attention deficit hyperactivity disorder (ADHD) is an abnormal function of the nervous system and of communication within the nervous system. Children with ADHD do not receive treatment but, without appropriate treatment and therapy, ADHD will negatively affect the quality of life of the children who have it, this is due to the pathology. Therapy should address the main causes. A first step is to adjust the working process and neurological process. Done together with step 1, step 2 is to develop attention through behavior modification. The current therapy still requires a therapist with expertise and long-term experience however, the key to success for behavior modification is family activities. Thus, the objective of this research is to utilize family activity by using a board game for ADHD development. This research uses experimental methodology, namely The One Group Pretest-Posttest. The sample group is 9-11-year-olds who are diagnosed with ADHD from 13 families (12 boys and 1 girl). The statistics results showed that: the attention scores of children with ADHD Were significantly increased (before=7.46?SD=1.00, after=8.77?SD=0.80 P-value<.05) and, the behavior score by the SNAP-IV was significantly decreased, based on inattention (before=18.00?SD=2.30, after=15.77?SD=2.54 P-value<.05). Hyperactivity and impulsivity scores were determined by their families, as follows: before=13.61?SD=3.97, after=12.23?SD=3.75 P-value<.05. The behavior score by the respective teacher was also significantly decreased based on hyperactivity and impulsivity score (before=13.77?SD=3.94, after=12.00?SD=3.60 P-value<.05). The results show Help Me. Help Your Friend. (Attention Family Board Game) can increase attention, and reduce behavior Inattention, Impulsivity, and hyperactivity in children with ADHD.
เด็กที่มีภาวะสมาธิสั้นหากไม่ได้รับการรักษาและบำบัดอย่างเหมาะสมในระยะยาวจะส่งผลกระทบเชิงลบต่อผลการเรียนและคุณภาพชีวิตเนื่องจากพยาธิสภาพในสมองทำให้เด็กขาดสมาธิต่อเนื่องอยู่ไม่นิ่ง ซนมากกว่าปกติและหุนหันพลันแล่นขาดการยั้งคิดดังนั้นการดูแลรักษาควรเริ่มตั้งแต่สาเหตุหลักคือการปรับกระบวนการทำงานในสมอง ร่วมกับการส่งเสริมให้เด็กมีสมาธิต่อเนื่องลดความหุนหันพลันแล่นและลดอาการซนอยู่ไม่นิ่ง ปัจจุบันกิจกรรมบำบัดต่าง ๆ ยังคงต้องอาศัยการฝึกโดยบุคคลกรที่มีความชำนาญหากแต่กุญแจสำคัญที่จะนำไปสู่การปรับพฤติกรรมที่ยั่งยืนถาวรนั้นคือครอบครัว งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเกมกระดาน Help Me. Help Your Friend ซึ่งเป็นเกมสำหรับครอบครัวที่ผู้ปกครองสามารถนำไปใช้ฝึกบุตรหลานที่มีภาวะสมาธิสั้นให้มีความสนใจจดจ่อมีสมาธิดีขึ้นและลดอาการซนอยู่ไม่นิ่งงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลองแบบ One Group Pretest - Posttest Designเพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลก่อนและ หลังการฝึกด้วยเกมกระดานสำหรับครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือเด็กนักเรียนชั้นประถมต้นที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคสมาธิสั้นมีอายุระหว่าง 9-11 ปีจำนวน 13 คน (ชาย 12 คน, หญิง 1 คน) และผู้ปกครองของเด็ก ผลการวิจัยพบว่า หลังจากฝึกด้วยเกมกระดานสำหรับครอบครัวที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเด็กมีคะแนนสมาธิจดจ่อเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับก่อนฝึก (ก่อนฝึก=7.46±SD=1.00, หลังฝึก=8.77±SD =0.80; p<.05) และจากการประเมินคะแนนพฤติกรรมด้วยแบบประเมิน SNAP-IV ที่ประเมินโดยผู้ปกครองพบว่าหลังการฝึกเด็กมีคะแนนปัญหาพฤติกรรมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับก่อนฝึก เช่น คะแนนการขาด สมาธิ (ก่อนฝึก=18.00±SD=2.30, หลังฝึก=15.77±SD=2.45,p<.05) คะแนนอาการซนไม่อยู่นิ่งและหุนหันพลันแล่น (ก่อนฝึก=13.61±SD=3.97, หลังฝึก=12.23±SD=3.75; p<.05) นอกจากนั้นผลคะแนนจากการประเมิน SNAP-IV ที่ประเมินโดยคุณครูได้ผลเช่นเดียวกันคือหลังฝึกเด็กมีคะแนนพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่งและหุนหันพลันแล่นลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับก่อนฝึก (ก่อนฝึก=13.77±SD=3.94, หลังฝึก= 2.00±SD=3.60;p<.05) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าเกมกระดาน Help Me. Help Your Friend ช่วยเพิ่มสมาธิและลด พฤติกรรมขาดสมาธิไม่อยู่นิ่งและหุนหันพลันแล่น ในอาสาสมัครได้
เด็กที่มีภาวะสมาธิสั้นหากไม่ได้รับการรักษาและบำบัดอย่างเหมาะสมในระยะยาวจะส่งผลกระทบเชิงลบต่อผลการเรียนและคุณภาพชีวิตเนื่องจากพยาธิสภาพในสมองทำให้เด็กขาดสมาธิต่อเนื่องอยู่ไม่นิ่ง ซนมากกว่าปกติและหุนหันพลันแล่นขาดการยั้งคิดดังนั้นการดูแลรักษาควรเริ่มตั้งแต่สาเหตุหลักคือการปรับกระบวนการทำงานในสมอง ร่วมกับการส่งเสริมให้เด็กมีสมาธิต่อเนื่องลดความหุนหันพลันแล่นและลดอาการซนอยู่ไม่นิ่ง ปัจจุบันกิจกรรมบำบัดต่าง ๆ ยังคงต้องอาศัยการฝึกโดยบุคคลกรที่มีความชำนาญหากแต่กุญแจสำคัญที่จะนำไปสู่การปรับพฤติกรรมที่ยั่งยืนถาวรนั้นคือครอบครัว งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเกมกระดาน Help Me. Help Your Friend ซึ่งเป็นเกมสำหรับครอบครัวที่ผู้ปกครองสามารถนำไปใช้ฝึกบุตรหลานที่มีภาวะสมาธิสั้นให้มีความสนใจจดจ่อมีสมาธิดีขึ้นและลดอาการซนอยู่ไม่นิ่งงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลองแบบ One Group Pretest - Posttest Designเพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลก่อนและ หลังการฝึกด้วยเกมกระดานสำหรับครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือเด็กนักเรียนชั้นประถมต้นที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคสมาธิสั้นมีอายุระหว่าง 9-11 ปีจำนวน 13 คน (ชาย 12 คน, หญิง 1 คน) และผู้ปกครองของเด็ก ผลการวิจัยพบว่า หลังจากฝึกด้วยเกมกระดานสำหรับครอบครัวที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเด็กมีคะแนนสมาธิจดจ่อเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับก่อนฝึก (ก่อนฝึก=7.46±SD=1.00, หลังฝึก=8.77±SD =0.80; p<.05) และจากการประเมินคะแนนพฤติกรรมด้วยแบบประเมิน SNAP-IV ที่ประเมินโดยผู้ปกครองพบว่าหลังการฝึกเด็กมีคะแนนปัญหาพฤติกรรมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับก่อนฝึก เช่น คะแนนการขาด สมาธิ (ก่อนฝึก=18.00±SD=2.30, หลังฝึก=15.77±SD=2.45,p<.05) คะแนนอาการซนไม่อยู่นิ่งและหุนหันพลันแล่น (ก่อนฝึก=13.61±SD=3.97, หลังฝึก=12.23±SD=3.75; p<.05) นอกจากนั้นผลคะแนนจากการประเมิน SNAP-IV ที่ประเมินโดยคุณครูได้ผลเช่นเดียวกันคือหลังฝึกเด็กมีคะแนนพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่งและหุนหันพลันแล่นลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับก่อนฝึก (ก่อนฝึก=13.77±SD=3.94, หลังฝึก= 2.00±SD=3.60;p<.05) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าเกมกระดาน Help Me. Help Your Friend ช่วยเพิ่มสมาธิและลด พฤติกรรมขาดสมาธิไม่อยู่นิ่งและหุนหันพลันแล่น ในอาสาสมัครได้
Description
Human Development (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
National Institute for Child and Family Development
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University