Factors affecting the crimes against properties of the male juveniles in the Central Observation and Protection Centers

dc.contributor.advisorNop Kanjanagunti
dc.contributor.advisorJuan Chaisuwan
dc.contributor.advisorLamduan Srimanee
dc.contributor.authorPitsanu Polabout
dc.date.accessioned2025-04-01T03:16:13Z
dc.date.available2025-04-01T03:16:13Z
dc.date.copyright2002
dc.date.created2025
dc.date.issued2002
dc.descriptionCriminology and Criminal Justice (Mahidol University 2002)
dc.description.abstractThis study aims to investigate factors affecting crime against properties by male juveniles in the Central Observation and Protection Centers, Bangkok. 120 male juveniles are the sample group who had committed crimes against property and being admitted in the training centers of Ban Metta, Karuna, Mudita and Ubekkha. Questionnaire is the instrument used for data collection. Frequency, percentage, mean, Analysis of Variance (ANOVA) and Multiple Classification Analysis (MCA) are statistical application in analysis. The results of this study can be summarized as follows: 1. Most in the sample group are between 17-18 years of age with primary level of education and residing in Bangkok. They are unemployed and earning no income with less than 100 Baht a day for daily expenses. They are living with their parents, who occasionally quarrel. Sample group felt that they did not obtain warmth from parents and had associations with both lawful and offending relatives and friends. 2. Attributes and emotions of most of the sample group are charterised by simple works, expeditious, composed and of good mood but inconsistent and rather fiery. 3. Most are involved with crimes against properties with an accomplice, but without use of arms in the offense. Most violations are committed during the nighttime at the unawareness of the existing proprietors in moat communities. Cause of offense is often greed to own the property or its arousal in association with conditional forces e.g. poverty and the existing opportunity and situation facilitate committing offense. It is recommended that there should be promotion and the strengthening of the family institution where members contribute more to mutual warmth and relationships. Benefits include protecting family members not to turn to narcotics or to associate with bad friends or offenders. Further, either government or the private sector should organize activities to strengthen the family institution as a path and a good foundation for social good and values.
dc.description.abstractในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำความผิดเกี่ยวกับ ทรัพย์ของเด็กและเยาวชนชายในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกลาง กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เด็กและเยาวชนชายที่กระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่ถูกฝึกและอบรมอยู่ใน สถานฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านเมตตา สถานฝึกอบรมเด็กและเยาวชนบ้านกรุณา สถานฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านมุฑิตา และสถานฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านอุเบกขา จำนวน 120 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย Analysis of Variance (ANOVA) และ Multiple Classification (MCA) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อายุระหว่าง 17-18 ปี การศึกษาระดับประถมศึกษา ภูมิลำเนาเดิมอยู่กรุงเทพมหานคร ไม่ได้ประกอบอาชีพ ไม่มีรายได้ต่อเดือน ใช้เงินวันละไม่เกิน 100 บาท พักอาศัยอยู่กับบิดามารดา บิดามารดาทะเลาะเบาะแว้งกันเป็นบางครั้งกลุ่มตัวอย่างรู้สึกว่ายังขาดความรักษาความอบอุ่นจากบิดา มารดา และนอกจากนี้เคยมีพี่น้องหรือเพื่อนที่กระทำผิดกฎหมาย 2. กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะบุคลิกภาพและอารมณ์ส่วนใหญ่เป็นคนชอบทำงานง่ายๆ ชอบความรวดเร็วว่องไว ค่อนข้างจะเงียบเฉย มักจะอารมณ์ดีเป็นส่วนใหญ่และมีอารมณ์เปลี่ยนแปลงไม่แน่นอนและเป็นคนค่อนข้างใจร้อน 3. กลุ่มตัวอย่างกระทำผิดในคดีลักทรัพย์มากที่สุด ส่วนใหญ่กระทำความผิดร่วมกับผู้อื่น ไม่ได้ใช้อาวุธประกอบการกระทำความผิด ส่วนใหญ่กระทำผิดช่วงกลางคืน เจ้าทรัพย์อยู่ในที่เกิดเหตุ แต่ไม่ทันระวังตัว สถานที่กระทำความผิดส่วนใหญ่เป็นแหล่งชุมชน สาเหตุที่กระทำความผิดเพราะความโลภ อยากได้ในทรัพย์สินหรือทรัพย์สินนั้นเป็นตัวกระตุ้นยั่วยุ ประกอบกับเหตุการณ์บังคับ เช่น ความยากจน และโอกาสกับสถานการณ์ในขณะนั้นเอื้ออำนวยต่อการกระทำผิด ข้อเสนอแนะจากผู้วิจัยควรมีการส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งแก่สถาบันครอบครัวโดยการให้สมาชิกในครอบครัวให้ความรักความอบอุ่นและความผูกพันซึ่งกันและกันให้มากขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้สมาชิกในครอบครัวหันพึ่งพายาเสพติดหรือไปคบกับเพื่อนที่ไม่ดีหรือไปกระทำผิดกฎหมาย นอกจากนี้ทางภาครัฐหรือเอกชนควรมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็งเพื่อเป็นแนวทางและพื้นฐานที่ดีของสังคมต่อไป
dc.format.extentix, 140 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.A. (Criminology and Criminal Justice))--Mahidol University, 2002
dc.identifier.isbn9740414559
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107350
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectDelinquent boys
dc.subjectOffenses against property
dc.titleFactors affecting the crimes against properties of the male juveniles in the Central Observation and Protection Centers
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ของเด็กและเยาวชนชายในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกลาง
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/4237624.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Social Sciences and Humanities
thesis.degree.disciplineCriminology and Criminal Justice
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Arts

Files