Public transport modeling : a case study of Phuket city

dc.contributor.advisorWaressara Weerawat
dc.contributor.advisorJirapan Liangrokapart
dc.contributor.advisorNatachai Wongchavalidkul
dc.contributor.authorPhatcharaphon Yodsurang
dc.date.accessioned2024-01-04T01:17:47Z
dc.date.available2024-01-04T01:17:47Z
dc.date.copyright2018
dc.date.created2018
dc.date.issued2024
dc.descriptionIndustrial Engineering (Mahidol University 2018)
dc.description.abstractPhuket has a population of more than 400,000 people, but more than 13 million tourists visit the island per year and the trend increases continuously. Currently, only 6. 6% of people use public transport. In Phuket City Municipality, buses are the major public transport that provide service in the city. In order to increase the public transport proportion, the bus service need to be evaluated on not only the travel cost, and comfort level, but also the travel time. The purpose of this study is to analyse the impact of the three proposed changes on bus service operations in Phuket City via microscopic traffic simulation modeling. Bus service route 2 from Si Mum Mueang Market to Super Cheap Store operated by Phuket Provincial Administrative Organization (PPAO) was selected for this case study. The changes to the bus service considered were; exclusive bus lanes, shortened bus routes, and use of electric buses. Several key performance indicators were selected to measure the impact such as: travel time from an origin station to a destination station, frequency of inter- arrival time at a destination station, and air pollution emissions from vehicles. By allocating 2.80 km of exclusive bus lanes in Phun Phon Road and Thep Kasattri Road, the PPAO bus travel time became 5.60% - 8.07% less. The deviation effects of destination headway was less than 1 minute when using the shorten bus route. During the evening peak hour, the SO2 emission level was more than 0.30 ppm/1-hour in Vichit Sub-District Municipality. This exceeds the recommended standard, and can be worse when there is 25% - 50% more of traffic volume. Based on this study, the bus exclusive lane has been recommended during the initial phase of public transport improvement to attract more passengers due to the travel time reduction. The shortened bus route and electric vehicles can be done in the second phase of improvement.
dc.description.abstractจังหวัดภูเก็ตมีประชากรประมาณ 4 แสนคน แต่มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเฉลี่ยมากกว่า 13 ล้านคนต่อปี และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันการใช้ระบบขนส่งสาธารณะมีปริมาณน้อยเพียงแค่ 6.6% ของ รูปแบบการเดินทางภายในจังหวัดภูเก็ต โดยระบบขนส่งสาธารณะหลักภายในเทศบาลนครภูเก็ตเป็นการให้บริการ รถโดยสารสาธารณะ (รถโพถ้อง) ในการวางแผนการเพิ่มสัดส่วนของระบบขนส่งสาธารณะมีการพิจารณาด้าน ระยะเวลาการเดินทางเป็นส่วนสำคัญนอกเหนือจากค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และระดับความสะดวกสบาย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 รูปแบบในการให้บริการรถโดยสารสาธารณะภายในเมืองภูเก็ต โดยการจำลองสภาพจราจรในระดับจุลภาคด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กรณีศึกษานี้เลือกการให้บริการรถโดยสารสาธารณะขององค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต เส้นทางที่ 2 จากตลาดสี่มุมเมืองถึงห้างซุปเปอร์ชีป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการให้บริการรถโดยสารสาธารณะจะพิจารณาจากการปรับให้มีช่องทางการเดินรถเฉพาะรถโดยสารสาธารณะที่ถนนพูนผลและถนนเทพกระษัตรี ระยะทางรวมประมาณ 2.8 กิโลเมตร การเปลี่ยนเส้นทางการเดินรถให้เป็นเส้นทางระยะสั้น และการเปลี่ยนเครื่องยนต์รถโดยสาธารณะเป็นเครื่องยนต์ไฟฟ้า ทั้งนี้การศึกษาผลกระทบโดยแบบจำลองจะประกอบด้วยระยะเวลาการเดินทางของรถโดยสารสาธารณะจากสถานีต้นทางถึงสถานีปลายทาง ความถี่ของรถโดยสารสาธารณะที่มาถึงสถานีปลายทาง และปริมาณมลพิษทางอากาศจากยานพาหนะในโครงข่าย ผลการวิเคราะห์พบว่า รูปแบบช่องทางการเดินรถเฉพาะรถโดยสารสาธารณะ สามารถลดระยะเวลาในการเดินทางของรถโดยสารสาธารณะได้ 5.60% - 8.07% สำหรับรูปแบบเส้นทางการเดินรถระยะสั้น สามารถส่งผลให้ความถี่ของรถโดยสารสาธารณะที่มาถึงสถานีปลายทางมีความคลาดเคลื่อนลดลงไม่เกิน 1 นาที จากเดิม 2-3 นาที นอกจากนี้ชั่วโมงเร่งด่วนช่วงเย็นในพื้นที่เทศบาลตำบลวิชิต มีปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) อยใู่ นระดับเกินค่ามาตรฐำน (กำ หนดไม่เกิน 0.30 ppm ในเวลา 1 ชั่วโมง) และจะมากขึ้นเมื่อปริมาณจรำจรเพิ่มเป็น 25% - 50% โดยจากการศึกษำครั้งนี้แนะนำรูปแบบช่องทางเดินรถเฉพำะรถโดยสารสาธารณะในช่วงเริ่มต้น แผนการปรับปรุงระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อดึงดูดให้มีผู้โดยสารมากขึ้นจากระยะเวลาในการเดินทางที่ลดลง และ นำ รูปแบบเส้นทางการเดินรถระยะสั้นและเครื่องยนต์ไฟฟ้ ำประยุกต์ใช้ในระยะที่สองของแผนการปรับปรุงข้ำงต้น
dc.format.extentxiii, 184 leaves : ill., maps
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Eng. (Industrial Engineering))--Mahidol University, 2018
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91793
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectTraffic flow -- Simulation methods
dc.subjectTraffic flow -- Mathematical models
dc.subjectTraffic flow -- Thailand -- Phuket
dc.titlePublic transport modeling : a case study of Phuket city
dc.title.alternativeแบบจำลองสภาพจราจรระบบขนส่งสาธารณะ : กรณีศึกษาเมืองภูเก็ต
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/542/5736624.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Engineering
thesis.degree.disciplineIndustrial Engineering
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Engineering

Files