Bilingual education and ethnic language maintenance in Myanmar : a study of language-in-education policy and practice in the Karen education department's schools
dc.contributor.advisor | Isara Choosri | |
dc.contributor.advisor | Suwilai Premsrirat | |
dc.contributor.advisor | Kirk Person | |
dc.contributor.author | Naw, Khu Shee, 1980- | |
dc.date.accessioned | 2024-01-03T06:02:08Z | |
dc.date.available | 2024-01-03T06:02:08Z | |
dc.date.copyright | 2017 | |
dc.date.created | 2017 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description | Linguistics (Mahidol University 2017) | |
dc.description.abstract | The choice of language of instruction and language policy in schools is a recent issue of concern with the maintenance of linguistic diversity through structured education. It is because incorporating learners' mother tongue along with the cultural values and traditions in mainstream curriculum can help the learners' learning process and preserve their language and culture as well. When multilingual societies adopt single-language-in-education policies, the trend is to assimilate different language speakers into that dominant language and their languages and cultures gradually decline towards the loss. This sociolinguistic problem of the need to protect ethnic languages and cultures by integrating those languages and cultures into the education system is a significant one confronting Myanmar. In this thesis, the focus is on micro level practices along with the community established policies to contribute to the current and ongoing national language in education policy development process. As the ethnography of language policy method is employed, this thesis drew on findings from documents review, in-depth interviews, focus group discussions and classroom observations. The study included in its scope those Karen Education Department (KED) schools which are exclusively functioning in the Karen National Union (KNU) controlled area in Myanmar. The study concerned the learners who are monolingual Sgaw Karen and did not investigate multilingual and multicultural student populations. The results of this study highlighted the importance of making decisions on government language policy in education on the basis of consideration of ethnic children's education in a linguistically diverse country. This study showed that implementing language policies in education and applying strong mother tongue-based multilingual education (MTB-MLE) programs in the communities where there are predominantly ethnic people could result in the enhancement of the maintenance of ethnic languages for ethnic minorities. | |
dc.description.abstract | การเลือกภาษาสำหรับเป็นสื่อการสอนและนโยบายภาษาสำหรับโรงเรียนเป็นประเด็นที่ได้ความสนใจในระยะที่ผ่านมาในฐานะทีมีความเกี่ยวข้องกันกับการธำรงความหลากหลายทางภาษาผ่านระบบการศึกษาแบบทางการ ทั้งนี้ก็เพราะว่าการผนวกเอาภาษาแม่ของผู้เรียนรวมทั้งคุณค่าและขนบทางวัฒนธรรมเข้ากับหลักสูตรกระแสหลักจะช่วยสนับสนุน กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนไปพร้อม ๆ กับช่วยธำรงรักษาภาษาและวัฒนธรรมของพวกเขาด้วยเมื่อสังคมพหุภาษาเลือกใช้นโยบายภาษาเดียวในระบบการศึกษาแนวโน้มก็คือการทำให้ผู้พูดภาษาอื่น ๆ กลมกลืนเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของผู้พูดภาษาหลักที่ครอบงำสังคมนั้นโดยที่ภาษาอื่นเหล่านั้นค่อยๆ ลดความสำคัญลงไปจนกระทั่งสูญหายไป ปัจจุบันปัญหาทาง ภาษาศาสตร์สังคมเกี่ยวกับความจำเป็นในการปกป้องภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์โดยการบูรณาการภาษาและวัฒนธรรมเหล่านั้น เข้ากับระบบการศึกษากำลังเป็นปัญหาสำคัญประเทศเมียนมากำลังเผชิญอยู่วิทยานิพนธ์เล่มนี้มุ่งเน้นการศึกษาระดับจุลภาคในระดับปฏิบัติโดยพิจารณานโยบายที่ชุมชนเลือกใช้ ซึ่งจะมีนัยยะต่อการพัฒนานโยบายภาษาในระบบการศึกษาของประเทศในปัจจุบันและในอนาคตผู้ศึกษาเลือกใช้วิธีการชาติพันธุ์วรรณาสำหรับการศึกษานโยบายภาษาในภาคปฏิบัติโดยอาศัยแหล่งข้อมูลจากการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และการสังเกตการณ์ใน ชั้นเรียน ขอบเขตของการศึกษานี้ครอบคลุมโรงเรียนภายใต้ ้การบริหารของกรมการศึกษากะเหรี่ยง ที่ดำเนินการด้านการศึกษาเฉพาะในเขตพื้นที่ที่ควบคุมโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงภายในประเทศเมียนมา การศึกษานี้ให้ความสนใจกับผู้เรียนที่เป็นผู้พูดภาษากะเหรี่ยงสะกอเพียงภาษาเดียวและไม่ครอบคลุมถึงการศึกษากลุ่มประชากรนักเรียนกลุ่มพหุภาษา และพหุวัฒนธรรมผลของการศึกษานี้เน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการรัฐบาลจะตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายภาษาในการศึกษาบนพื้นฐานของการพิจารณาเงื่อนไขทางการศึกษาของเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทของประเทศที่มีความหลากหลายทางภาษาการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการนำนโยบายภาษาในการศึกษาไปปฏิบัติและการประยุกต์ใช้โครงการศึกษาแบบพหุภาษาที่ใช้ภาษาแม่เป็นฐานแบบเต็มรูปในชุมชนที่มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์เป็นหลักสามารถทีจะส่งผลให้เกิดการเสริมสร้างการธำรงภาษาในกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชนกลุ่มน้อย | |
dc.format.extent | xi, 215 leaves : ill., maps | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2017 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91659 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Language in education | |
dc.subject | Language policy -- Burma | |
dc.subject | Multilingual education -- Burma | |
dc.title | Bilingual education and ethnic language maintenance in Myanmar : a study of language-in-education policy and practice in the Karen education department's schools | |
dc.title.alternative | การศึกษาแบบทวิภาษาและการธำรงภาษาชาติพันธุ์ในประเทศเมียนมา : การศึกษานโยบายภาษาในระบบการศึกษาและการปฏิบัติในโรงเรียนภายใต้สำนักการศึกษากะเหรี่ยง | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/545/5738525.pdf | |
thesis.degree.department | Mahidol University. Research Institute for Languages and Cultures of Asia | |
thesis.degree.discipline | Linguistics | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Doctoral Degree | |
thesis.degree.name | Doctor of Philosophy |