An analysis of mode choice model for Ko Chang access
Issued Date
2024
Copyright Date
2021
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 126 leaves: ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Eng. (Logistics and Supply Chain))--Mahidol University, 2021
Suggested Citation
Yanisa Techaphoositthipong An analysis of mode choice model for Ko Chang access. Thesis (M.Eng. (Logistics and Supply Chain))--Mahidol University, 2021. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99462
Title
An analysis of mode choice model for Ko Chang access
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์แบบจำลองการเลือกรูปแบบการเดินทางเข้าสู่เกาะช้าง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
A great number of tourists accessing Ko Chang is the cause of congestion at ferry piers, especially on long weekends. The ferry has a low capacity to carry vehicles, and bottlenecks are created at the piers on both mainland and island sides. This research applies the mode choice model to moderate congestion via demand management strategies. The results showed that cost is the main attribute to choose mode choice for high-income travelers. They could change to park-and-ride if travel cost is higher. For the low and medium-income travelers, they could change mode if the price and time are higher. Furthermore, this research adopted a collaboration between government and stakeholders to relieve over-tourism. The results showed that a companion model is the most significant model mode choice. The first group who decided to shift mode involved a family trip. This research recommends that the local government should invest in facilities for kids and the elderly.
ในช่วงเทศกาลมีนักท่องเที่ยวมาเยือนเกาะช้างเป็นจำนวนมาก ทาให้เกิดปัญหารถติดที่ หน้าท่าเรือ เนื่องจากผู้ให้บริการเรือเฟอร์รี่ไม่สามารถให้บริการนักท่องเที่ยวได้เพียงพอ จึงเกิด ปัญหาคอขวดที่หน้าท่าเรือ งานวิจัยเล่มนี้จึงประยุกต์ทฤษฎีการเลือกรูปแบบการเดินทางโดยใช้กล ยุทธการจัดการอุปทาน จากการศึกษาพบว่าราคาเป็นปัจจัยสำคัญที่ทาให้นักท่องเที่ยวที่มีรายได้สูง เปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง ในขณะที่ราคาและเวลาเป็นปัจจัยสำคัญที่ทา ให้นักท่องเที่ยวที่มีรายได้ต่ำ และปานกลางเปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้ความร่วมมือจากภาครัฐและ ภาคเอกชนเพื่อแก้ปัญหาจำนวนนักท่องเที่ยวที่มากเกินไป จากการศึกษาพบว่ารูปแบบผู้ร่วมเดินทาง มีผลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทาง กลุ่มแรกที่ตัดสินใจเปลี่ยนรูปแบบการเดินทางเกี่ยวเนื่องกับ การท่องเที่ยวกับครอบครัว งานวิจัยเล่มนี้จึงแนะนาภาครัฐในท้องถิ่นลงทุนสาธารณูปโภคกับเด็ก และคนชรา
ในช่วงเทศกาลมีนักท่องเที่ยวมาเยือนเกาะช้างเป็นจำนวนมาก ทาให้เกิดปัญหารถติดที่ หน้าท่าเรือ เนื่องจากผู้ให้บริการเรือเฟอร์รี่ไม่สามารถให้บริการนักท่องเที่ยวได้เพียงพอ จึงเกิด ปัญหาคอขวดที่หน้าท่าเรือ งานวิจัยเล่มนี้จึงประยุกต์ทฤษฎีการเลือกรูปแบบการเดินทางโดยใช้กล ยุทธการจัดการอุปทาน จากการศึกษาพบว่าราคาเป็นปัจจัยสำคัญที่ทาให้นักท่องเที่ยวที่มีรายได้สูง เปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง ในขณะที่ราคาและเวลาเป็นปัจจัยสำคัญที่ทา ให้นักท่องเที่ยวที่มีรายได้ต่ำ และปานกลางเปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้ความร่วมมือจากภาครัฐและ ภาคเอกชนเพื่อแก้ปัญหาจำนวนนักท่องเที่ยวที่มากเกินไป จากการศึกษาพบว่ารูปแบบผู้ร่วมเดินทาง มีผลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทาง กลุ่มแรกที่ตัดสินใจเปลี่ยนรูปแบบการเดินทางเกี่ยวเนื่องกับ การท่องเที่ยวกับครอบครัว งานวิจัยเล่มนี้จึงแนะนาภาครัฐในท้องถิ่นลงทุนสาธารณูปโภคกับเด็ก และคนชรา
Description
Logistics and Supply Chain (Mahidol University 2021)
Degree Name
Master of Engineering
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Logistics and Supply Chain
Degree Grantor(s)
Mahidol University