Factors associated with adolescent pregnancy in a rural district of Kalasin province, Thailand
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 70 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Reproduction and Population Planning))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Prapasri Poopayang Factors associated with adolescent pregnancy in a rural district of Kalasin province, Thailand. Thesis (M.Sc. (Human Reproduction and Population Planning))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95296
Title
Factors associated with adolescent pregnancy in a rural district of Kalasin province, Thailand
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตั้งครรภ์วัยรุ่นในชนบทของจังหวัดกาฬสินธุ์
Author(s)
Abstract
Adolescent pregnancy is a major health problem, which affects not only health of the girl and her baby, but also hinders social and economic development, both in the short and long term aspects. This research was a case-control study, aiming to study factors associated with pregnancy among adolescents who lived in a rural area in Thakhantho district, Kalasin province. Cases were 85 girls aged 10-19 years old who were pregnant and delivered their baby less than 1 year ago or aborted within 6 months. Controls were adolescents, of the same number, who had never been pregnant and lived nearby. Data was collected by self- administered questionnaires during the period of 1st June to 30th November 2013. Data analysis included descriptive statistics, bivariate analysis (Pearson chi-square test, Fischer's exact test, and Mann Whitney U test), and multiple logistic regression. The statistical significance was set at p-value < 0.05. The results of bivariate analysis showed that significant factors associated with adolescent pregnancy were age, education, occupation, parental marital status, having pregnant, married friends, and high sexual risk behavior. On the other hand, knowledge about sex, attitudes toward sex, and levels of friend's acceptance had no statistically significant association with pregnancy. When multiple logistic regression analysis was applied, occupation (OR= 3.0, (95%CI 1.4- 6.6)), parental marital status (OR= 3.5, (95%CI 1.3- 9.1)), and having pregnant friends (OR= 2.9, (95%CI 1.1- 7.9)) had a statistically significant association with adolescent pregnancy. In conclusion, adolescent pregnancy is associated with interrelated multidisciplinary factors. Delaying adolescent marriage, by maintaining adolescents who are studying in school, and increasing family attachment can reduce the rate of adolescent pregnancy.
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบอย่างมากต่อสุขภาพของมารดาและทารก รวมไปถึงปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมซึ่งเป็นอุปสรรคในการพัฒนาประเทศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว การ ศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นแบบ case control เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อาศัยอยู่ในชนบท ได้แก่อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มศึกษาเป็นวัยรุ่นหญิงอายุ 10-19 ปี ตั้งครรภ์ครั้งแรก คลอดบุตรคนแรก ภายใน 1 ปี หรือเพิ่งแท้งบุตรภายใน 6 เดือน จำนวน 85 ราย กลุ่มควบคุมได้แก่วัยรุ่นหญิงจำนวนเท่ากันอายุ ใกล้เคียงกันที่ไม่เคยตั้งครรภ์ และมีที่อยู่อาศัยใกล้กับกลุ่มศึกษา เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามที่ตอบเอง ระหว่าง วันที่ 1 มิถุนายน ถึง วันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา การวิเคราะห์แบบทวิตัวแปร (Pearson chi-square test Fisher's exact test และ Mann Whitney U test) และ การวิเคราะห์ด้วยสถิติถดถอยลอจิ สติก โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิเคราะห์แบบทวิตัวแปรพบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ สภาพสมรสของบิดามารดา การมีเพื่อนที่ตั้งครรภ์หรือแต่งงานและพฤติกรรม เสี่ยงทางเพศ แต่ความรู้ ทัศนคติเรื่องเพศและการยอมรับของเพื่อนไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อ ทดสอบทางสถิติถดถอยลอจิสติก พบว่าปัจจัยที่ยังคงมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการตั้งครรภ์ของ วัยรุ่นคือ อาชีพ (OR= 3.0, (95%CI 1.4- 6.6)) สภาพสมรสของบิดามารดา (OR= 3.5, (95%CI 1.3- 9.1)), และการมี เพื่อนที่ตั้งครรภ์ (OR= 2.9, (95%CI 1.1- 7.9)) สรุป การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีความสำพันธ์หลายปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกัน จากการศึกษานี้อาจจะ นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ได้แก่ ควรมีการส่งเสริมให้วัยรุ่นแต่งงานช้าลงได้มีการเรียนหนังสือ ในโรงเรียนให้นานที่สุด ส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เพื่อลดอุบัติการณ์การการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นในประเทศไทยได้
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบอย่างมากต่อสุขภาพของมารดาและทารก รวมไปถึงปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมซึ่งเป็นอุปสรรคในการพัฒนาประเทศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว การ ศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นแบบ case control เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อาศัยอยู่ในชนบท ได้แก่อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มศึกษาเป็นวัยรุ่นหญิงอายุ 10-19 ปี ตั้งครรภ์ครั้งแรก คลอดบุตรคนแรก ภายใน 1 ปี หรือเพิ่งแท้งบุตรภายใน 6 เดือน จำนวน 85 ราย กลุ่มควบคุมได้แก่วัยรุ่นหญิงจำนวนเท่ากันอายุ ใกล้เคียงกันที่ไม่เคยตั้งครรภ์ และมีที่อยู่อาศัยใกล้กับกลุ่มศึกษา เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามที่ตอบเอง ระหว่าง วันที่ 1 มิถุนายน ถึง วันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา การวิเคราะห์แบบทวิตัวแปร (Pearson chi-square test Fisher's exact test และ Mann Whitney U test) และ การวิเคราะห์ด้วยสถิติถดถอยลอจิ สติก โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิเคราะห์แบบทวิตัวแปรพบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ สภาพสมรสของบิดามารดา การมีเพื่อนที่ตั้งครรภ์หรือแต่งงานและพฤติกรรม เสี่ยงทางเพศ แต่ความรู้ ทัศนคติเรื่องเพศและการยอมรับของเพื่อนไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อ ทดสอบทางสถิติถดถอยลอจิสติก พบว่าปัจจัยที่ยังคงมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการตั้งครรภ์ของ วัยรุ่นคือ อาชีพ (OR= 3.0, (95%CI 1.4- 6.6)) สภาพสมรสของบิดามารดา (OR= 3.5, (95%CI 1.3- 9.1)), และการมี เพื่อนที่ตั้งครรภ์ (OR= 2.9, (95%CI 1.1- 7.9)) สรุป การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีความสำพันธ์หลายปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกัน จากการศึกษานี้อาจจะ นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ได้แก่ ควรมีการส่งเสริมให้วัยรุ่นแต่งงานช้าลงได้มีการเรียนหนังสือ ในโรงเรียนให้นานที่สุด ส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เพื่อลดอุบัติการณ์การการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นในประเทศไทยได้
Description
Human Reproduction and Population Planning (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Human Reproduction and Population Planning
Degree Grantor(s)
Mahidol University