A study of pragmatic strategies in Thai and American picture books for children
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xviii, 259 leaves : ill., charts
Access Rights
open access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Pitchanee Sotthiyothin A study of pragmatic strategies in Thai and American picture books for children. Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91647
Title
A study of pragmatic strategies in Thai and American picture books for children
Alternative Title(s)
การศึกษากลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในหนังสือภาพสำหรับเด็กของไทยและอเมริกัน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This dissertation focused on the comparative study of the pragmatic strategies used in children's picture books written by the Thai and American authors. The total of 80 awarding winning children's picture books were used as references, half written by the Thai authors and another half by the Americans. Every reference book is designed for children aged 3-12, written in prose and first published in 1972-2014. The analysis in this research was based on the concept of Speech Act by John L. Austin (1962) and John R. Searle (1969, 1975, 1976) and Cooperative Principle by H. Paul Grice (1975). There were two main aspects of interest: the pragmatic strategies used in conversational utterances between characters and the strategies used by the authors to convey key messages to listeners or readers. In general, the pragmatic strategies used in children's picture books written by the Thai and American authors were found to be rather similar. Both prefer to communicate rather straightforward, which could be easily understood by children, with the use of single-function sentences, direct speech acts, representative type of the illocutionary acts, and utterances conforming to conversational maxim. However, the American authors tend to communicate rather indirectly much more often than the Thai authors. This is true both in the pragmatic strategies used in conversational utterances and the way to convey key messages. This, in turn, requires higher effort on the readers' or listeners' side to understand, compared to those reading the Thai books. These differences may be due to the society, culture, and the education system that encourage children to think and use more imagination
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในหนังสือภาพสำหรับเด็กที่แต่งโดยชาวไทยและชาวอเมริกัน เก็บข้อมูลจากหนังสือภาพสำหรับสำหรับเด็กช่วงอายุ 3-12 ปี ที่แต่งโดยนักเขียนชาวไทยและนักเขียนชาวอเมริกันชาติละ 40 เล่ม แต่งเป็นร้อยแก้ว ตีพิมพ์ช่วงปี 2515-2557 โดยใช้แนวคิดวัจนกรรม (John L. Austin, 1962 และ John R. Searle, 1969, 1975, 1976) และหลักความร่วมมือ (H. Paul Grice, 1975) วิเคราะห์กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ที่ปรากฏในถ้อยคำสนทนาระหว่างตัวละคร และกลวิธีการสื่อแนวคิดสำคัญจากผู้เขียนถึงผู้ฟังหรือผู้อ่าน ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ที่ปรากฏในถ้อยคำสนทนาระหว่างตัวละคร ของนักเขียนชาวไทยและชาวอเมริกันมีความเหมือนกันในภาพรวม คือนักเขียนทั้ง 2 ชาตินิยมสื่อสารอย่างตรงไปตรงมาด้วยการใช้รูปประโยค 1 รูปประโยคทำหน้าที่ 1 หน้าที่ ใช้วัจนกรรมตรง เมื่อแบ่งการกระทำของถ้อยคำนิยมใช้ถ้อยคำที่เป็นการการกล่าวความจริง และใช้ถ้อยคำที่ปฏิบัติตามหลักความร่วมมือในการสนทนา ทั้งนี้ก็เพื่อให้เด็กเข้าใจง่ายแต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า นักเขียนทั้ง 2 ชาติใช้กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ที่ปรากฏในถ้อยคำสนทนาระหว่างตัวละคร และกลวิธีการสื่อแนวคิดสำคัญจากผู้เขียนถึงผู้ฟังหรือผู้อ่านแตกต่างกัน คือนักเขียนชาวอเมริกันนิยมใช้กลวิธีการสื่อสารที่ไม่กล่าวอย่างตรงไปตรงหรือไม่กล่าวอย่างเปิดเผยทำให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านต้องตีความเจตนาสารของถ้อยคำและของเรื่องมากกว่านักเขียนชาวไทยความต่างดังกล่าวนี้อาจเนื่องมาจากสังคมวัฒนธรรมและระบบการศึกษาที่ส่งเสริมให้เด็กคิดและใช้จินตนาการของทั้ง 2 ชาติแตกต่างกัน
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในหนังสือภาพสำหรับเด็กที่แต่งโดยชาวไทยและชาวอเมริกัน เก็บข้อมูลจากหนังสือภาพสำหรับสำหรับเด็กช่วงอายุ 3-12 ปี ที่แต่งโดยนักเขียนชาวไทยและนักเขียนชาวอเมริกันชาติละ 40 เล่ม แต่งเป็นร้อยแก้ว ตีพิมพ์ช่วงปี 2515-2557 โดยใช้แนวคิดวัจนกรรม (John L. Austin, 1962 และ John R. Searle, 1969, 1975, 1976) และหลักความร่วมมือ (H. Paul Grice, 1975) วิเคราะห์กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ที่ปรากฏในถ้อยคำสนทนาระหว่างตัวละคร และกลวิธีการสื่อแนวคิดสำคัญจากผู้เขียนถึงผู้ฟังหรือผู้อ่าน ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ที่ปรากฏในถ้อยคำสนทนาระหว่างตัวละคร ของนักเขียนชาวไทยและชาวอเมริกันมีความเหมือนกันในภาพรวม คือนักเขียนทั้ง 2 ชาตินิยมสื่อสารอย่างตรงไปตรงมาด้วยการใช้รูปประโยค 1 รูปประโยคทำหน้าที่ 1 หน้าที่ ใช้วัจนกรรมตรง เมื่อแบ่งการกระทำของถ้อยคำนิยมใช้ถ้อยคำที่เป็นการการกล่าวความจริง และใช้ถ้อยคำที่ปฏิบัติตามหลักความร่วมมือในการสนทนา ทั้งนี้ก็เพื่อให้เด็กเข้าใจง่ายแต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า นักเขียนทั้ง 2 ชาติใช้กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ที่ปรากฏในถ้อยคำสนทนาระหว่างตัวละคร และกลวิธีการสื่อแนวคิดสำคัญจากผู้เขียนถึงผู้ฟังหรือผู้อ่านแตกต่างกัน คือนักเขียนชาวอเมริกันนิยมใช้กลวิธีการสื่อสารที่ไม่กล่าวอย่างตรงไปตรงหรือไม่กล่าวอย่างเปิดเผยทำให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านต้องตีความเจตนาสารของถ้อยคำและของเรื่องมากกว่านักเขียนชาวไทยความต่างดังกล่าวนี้อาจเนื่องมาจากสังคมวัฒนธรรมและระบบการศึกษาที่ส่งเสริมให้เด็กคิดและใช้จินตนาการของทั้ง 2 ชาติแตกต่างกัน
Description
Linguistics (Mahidol University 2018)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Mahidol University. Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Degree Discipline
Linguistics
Degree Grantor(s)
Mahidol University