Splint with strap

dc.contributor.authorพรชัย กันเวชen_US
dc.contributor.authorหฤทัย ปัญทีโปen_US
dc.contributor.authorPornchai Kanvejen_US
dc.contributor.authorHaruthai Panteepoen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายการพยาบาลen_US
dc.date.accessioned2022-06-30T03:35:21Z
dc.date.available2022-06-30T03:35:21Z
dc.date.created2565-06-30
dc.date.issued2564
dc.descriptionปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 25-26en_US
dc.description.abstractผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ได้รับบาดเจ็บต่อกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อ ควร ได้รับการดูแลเบื้องต้นทันทีโดยการดาม (Splints) บริเวณที่ได้รับบาดเจ็บให้ อยู่นิ่ง (immobilization) เพื่อลดอาการเจ็บปวด ลดการบาดเจ็บต่อกระดูก กล้ามเนื้อ เส้นประสาท และข้อ และป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ภาวะ เลือดออกเนื้อเยื่อในข้อ ภาวะความดันในกล้ามเนื้อสูงขึ้น และหลอดเลือดแดง ฉีกขาดทำให้สูญเสียเลือด หลักการดามกระดูก ได้แก่ การใช้วัสดุที่เหมาะสม ดามยึดไม่ให้ส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีการเคลื่อนไหว ดามให้ครอบคลุมข้อต่อ เหนือและใต้ต่อส่วนที่บาดเจ็บ กรณีมีบาดแผลให้ทำแผล และห้ามเลือดก่อน โดยต้องระวังอันตรายที่เกิดจากการดาม เช่น พันผ้ารัดแน่นเกินไปทำให้การ ไหลเวียนโลหิตไม่ดี การกดทับเส้นประสาท และเพิ่มการบาดเจ็บต่อกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อ การดามกระดูกขาที่ปฏิบัติกันในหน่วยตรวจโรคอุบัติเหตุนั้น ใช้ไม้ อัดที่ประกอบเป็นรูปตัวแอลดามขาแล้วพันด้วย ผ้ายืด โดยใช้บุคลากร 2 คน คนหนึ่งยกขาผู้ป่วยขึ้นสอดไม้ดามและยกค้างไว้ อีกคนพันผ้ายืด วิธีนี้มีโอกาส ทำให้กระดูกที่หักและอวัยวะที่บาดเจ็บเคลื่อนไหวง่าย เนื่องจากต้องยกขาค้าง ไว้นานจนกว่าจะพันผ้าเสร็จ หากแพทย์ต้องการตรวจ/ทำหัตถการบริเวณที่ บาดเจ็บก็ต้องยกขาถอดผ้าพันออก เสร็จแล้วก็ยกขาพันใหม่ จะเห็นได้ว่า อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บมีโอกาสเคลื่อนไหวง่าย ดังนั้นอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาม ขา จึงควรลดกระบวนการที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวขาได้ง่าย เอื้ออำนวยต่อ การตรวจวินิจฉัย/ทำหัตถการต่างๆ และไม่บดบังรังสีเอกซเรย์ ผลการประเมินพบว่า Splint with strap ใช้ดามกระดูกขาและเท้าได้ มีประสิทธิภาพอัตราผู้ป่วยที่ Pain score ลดลงหลังจากดามร้อยละ 95 การ ขยับเคลื่อนไหวของขาผู้ป่วยหลังจากถูกดามขาเรียบร้อยแล้วพบเพียงร้อยละ 2 ไม่พบการหลุด/เลื่อนของสายรัด ระยะเวลาที่ใช้ในการดามขาและเท้า ผู้ป่วยลดลง ผู้ใช้งานความพึงพอใจในระดับมากที่สุดen_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/71992
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectlong leg splinten_US
dc.subjectbone fractureen_US
dc.subjectimmobilizationen_US
dc.subjectการดามกระดูกขาen_US
dc.subjectเส้นประสาทen_US
dc.subjectMahidol Quality Fairen_US
dc.titleSplint with strapen_US
dc.typeProceeding Abstracten_US

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
si-pc-pronchai-2564.pdf
Size:
942.01 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description: