The construction of democracy and citizenship in Progressive Thai schools and implications on social justice
Issued Date
2023
Copyright Date
2014
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 232 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Human Rights and Peace Studies))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Vachararutai Boontinand The construction of democracy and citizenship in Progressive Thai schools and implications on social justice. Thesis (Ph.D. (Human Rights and Peace Studies))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89542
Title
The construction of democracy and citizenship in Progressive Thai schools and implications on social justice
Alternative Title(s)
การสร้างประชาธิปไตยและความเป็นพลเมืองในโรงเรียนไทยที่มีแนวคิดก้าวหน้าและนัยยะต่อความเป็นธรรมทางสังคม
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This study explores the possibilities and challenges of education in Thailand that can contribute toward democracy and social justice by focusing on the process of citizen construction in an alternative and a democratic school. By drawing on theories and knowledge from various critical fields, this thesis attempts to establish that schools are sites of competing interests and functions. It investigates both the formal and hidden school curricula and pedagogical approaches to better understand the contradictive nature of school and the implications on the construction of citizens for democracy and social justice. This study also examines the influence of differing political, economic and cultural ideologies in contemporary Thai society in shaping education curricula and practices in the two schools and the ways in which the schools negotiate these various ideologies which affect the construction of differentiated citizenship. Findings suggest that curricula and pedagogical practices drawn from experiential and inquiry-based learning, and a focus on real issues and concerns in the larger society, have the potential to contribute to the construction of democratic and justice-oriented citizens. However, there are certain areas of tension and contradiction in the school systems and practices which present challenges to education for democracy and social justice. Furthermore, while Buddhism plays a significant role in citizen construction in both schools, its contribution toward creating democratic and justice-oriented citizens remains limited. Finally, as the alternative and democratic schools are embedded in a stratified society, their constructions of differentiated citizenship pose an important challenge for education for democracy and social justice in contemporary Thailand.
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาโอกาสและข้อท้าทายของการศึกษาในประเทศไทยต่อการสร้างประชาธิปไตยและความเป็นธรรมทางสังคมโดยมุ่งเน้นไปที่การศึกษากระบวนการสร้างพลเมืองในโรงเรียนทางเลือกและโรงเรียนประชาธิปไตย 2 แห่ง งานวิจัยชิ้นนี้นำหลักทฤษฎีและองค์ความรู้เชิงวิพากษ์มาใช้เพื่อพยายามชี้ให้เห็นว่าโรงเรียนต้องทำหน้าที่ตอบสนองต่อเป้าหมายที่หลากหลายและอาจขัดกัน โดยงานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาหลักสูตรและแนวทางการเรียนการสอนแบบที่เป็นทางการและหลักสูตรแฝงของโรงเรียนเพื่อทำความเข้าใจกับลักษณะและเป้าหมายของโรงเรียนและระบบการศึกษาและนัยยะต่อการสร้างพลเมืองเพื่อประชาธิปไตยและความเป็นธรรมทางสังคม นอกจากนั้นงานวิจัยชิ้นนี้ยังสืบสาวอิทธิพลของอุดมการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมในสังคมไทยร่วมสมัยต่อการกำหนดหลักสูตรและข้อปฎิบัติต่าง ๆ ในโรงเรียนรวมไปถึงการที่โรงเรียนทั้ง 2 แห่งต่อรองกับอุดมการณ์เหล่านี้ในวิธีที่ต่างกันซึ่งส่งผลต่อการสร้างความเป็นพลเมืองที่แตกต่างข้อค้นพบจากงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าหลักสูตรและแนวทางการเรียนการสอนที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้แบบสืบค้นและการเชื่อมโยงกับ ประเด็นทางสังคมมีศักยภาพในการส่งเสริมการสร้างพลเมืองที่เป็นประชาธิปไตยและมีจิตสำนึกเรื่องความเป็นธรรม อย่างไรก็ตามวิถีปฎิบัติแบบไทย ๆ และระบบปฎิบัติบางอย่างของโรงเรียนอาจส่งผลในทางขัดกัน นอกจากนี้งานวิจัยยังค้นพบว่า ถึงแม้ว่าแนวคิดและหลักปฎิบัติทางพุทธศาสนาจะ มีบทบาทสำคัญในการสร้างความเป็นพลเมืองในโรงเรียนไทยทั้ง 2 แห่งแต่ก็มีบทบาทจำกัดในการสร้างพลเมืองที่เป็นประชาธิปไตยและมีจิตสำนึกเรื่องความเป็นธรรมท้ายที่สุดสังคมที่มีการแบ่งช่วงชั้นของไทยเป็นข้อท้าทายที่สำคัญต่อการศึกษาเพื่อการสร้างความเป็นประชาธิปไตยและความเป็นธรรมในสังคมไทย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาโอกาสและข้อท้าทายของการศึกษาในประเทศไทยต่อการสร้างประชาธิปไตยและความเป็นธรรมทางสังคมโดยมุ่งเน้นไปที่การศึกษากระบวนการสร้างพลเมืองในโรงเรียนทางเลือกและโรงเรียนประชาธิปไตย 2 แห่ง งานวิจัยชิ้นนี้นำหลักทฤษฎีและองค์ความรู้เชิงวิพากษ์มาใช้เพื่อพยายามชี้ให้เห็นว่าโรงเรียนต้องทำหน้าที่ตอบสนองต่อเป้าหมายที่หลากหลายและอาจขัดกัน โดยงานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาหลักสูตรและแนวทางการเรียนการสอนแบบที่เป็นทางการและหลักสูตรแฝงของโรงเรียนเพื่อทำความเข้าใจกับลักษณะและเป้าหมายของโรงเรียนและระบบการศึกษาและนัยยะต่อการสร้างพลเมืองเพื่อประชาธิปไตยและความเป็นธรรมทางสังคม นอกจากนั้นงานวิจัยชิ้นนี้ยังสืบสาวอิทธิพลของอุดมการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมในสังคมไทยร่วมสมัยต่อการกำหนดหลักสูตรและข้อปฎิบัติต่าง ๆ ในโรงเรียนรวมไปถึงการที่โรงเรียนทั้ง 2 แห่งต่อรองกับอุดมการณ์เหล่านี้ในวิธีที่ต่างกันซึ่งส่งผลต่อการสร้างความเป็นพลเมืองที่แตกต่างข้อค้นพบจากงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าหลักสูตรและแนวทางการเรียนการสอนที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้แบบสืบค้นและการเชื่อมโยงกับ ประเด็นทางสังคมมีศักยภาพในการส่งเสริมการสร้างพลเมืองที่เป็นประชาธิปไตยและมีจิตสำนึกเรื่องความเป็นธรรม อย่างไรก็ตามวิถีปฎิบัติแบบไทย ๆ และระบบปฎิบัติบางอย่างของโรงเรียนอาจส่งผลในทางขัดกัน นอกจากนี้งานวิจัยยังค้นพบว่า ถึงแม้ว่าแนวคิดและหลักปฎิบัติทางพุทธศาสนาจะ มีบทบาทสำคัญในการสร้างความเป็นพลเมืองในโรงเรียนไทยทั้ง 2 แห่งแต่ก็มีบทบาทจำกัดในการสร้างพลเมืองที่เป็นประชาธิปไตยและมีจิตสำนึกเรื่องความเป็นธรรมท้ายที่สุดสังคมที่มีการแบ่งช่วงชั้นของไทยเป็นข้อท้าทายที่สำคัญต่อการศึกษาเพื่อการสร้างความเป็นประชาธิปไตยและความเป็นธรรมในสังคมไทย
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Graduate Studies
Degree Discipline
Human Rights and Peace Studies
Degree Grantor(s)
Mahidol University