การสอนขับร้องเพลงคลาสสิกตามแนวการสอนของอาจารย์ดุษฎี พนมยงค์ (ศิลปินแห่งชาติ)
dc.contributor.advisor | ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ | |
dc.contributor.advisor | มนสิการ เหล่าวานิช | |
dc.contributor.author | เบญจาภา แดงอินทวัฒน์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-15T04:07:42Z | |
dc.date.available | 2024-01-15T04:07:42Z | |
dc.date.copyright | 2559 | |
dc.date.created | 2567 | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.description | ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559) | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสอนขับร้องเพลงคลาสสิกตามแนวการสอนของ อาจารย์ดุษฎี พนมยงค์ ศิลปินแห่งชาติ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาจากการสัมภาษณ์อาจารย์ดุษฎี พนมยงค์ ถึงการสอนรวมถึงการเข้าสังเกตการสอนและศึกษาการเรียนขับร้องของลูกศิษย์ปัจจุบัน และการสัมภาษณ์ จากลูกศิษย์ที่เคยเรียนและผ่านการสอบร้องเพลงในช่วง พ.ศ. 2549-2559 จานวน ผลการวิจัย พบว่า เทคนิคสำคัญที่เป็นหัวใจหลักของการสอนขับร้องเพลงคลาสสิกของอาจารย์ดุษฎี พนมยงค์ การร้องแบบเบลคานโตที่มุ่งเน้นการกาหนดลมหายใจและสามารถทำให้ประโยคเพลงนั้นต่อเนื่องสวยงาม โดยใช้การควบคุมและความสัมพันธ์กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ผ่านการฝึกบทเพลง ในยุคสมัยต่างๆ และภาษา ที่หลากหลาย เช่น ภาษาอิตาเลียน ภาษาฝรั่งเศส และภาษาเยอรมัน อีกทั้งอาจารย์ดุษฎี พนมยงค์ ยังส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกแสดงความสามารถการร้องเพลงต่อหน้าสาธารณชนโดยมีการจัดการแสดงคอนเสิร์ตและมีการสอบวัดประเมินผลทุกปี | |
dc.description.abstract | The objective of this research was to study Professor Dusdi Banomyong's Method of teaching classical singing. A sample population was selected from among Professor Banomyong's former and current students. All the selected students were in the process of classical singing examination training for Trinity Guildhall voice exam. Data were collected through in-depth interview with the Professor and her students and through class observation. Data analysis was done using the Theory of classical singing analysis, music education and music methodology. It was found that the most important technique used in teaching was the Bel Canto technique which focuses on the breath control alongside voice control projection using the whole body. Teaching repertoire was widely from early age to modern period and included many languages. Students were encouraged to participate in public performances twice a year and take classical singing exam every year | |
dc.format.extent | ก-ฌ, 85 แผ่น | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92776 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | เพลงคลาสสิค | |
dc.subject | การร้องเพลง -- การสอนและวิธีสอน | |
dc.subject | การร้องเพลง | |
dc.title | การสอนขับร้องเพลงคลาสสิกตามแนวการสอนของอาจารย์ดุษฎี พนมยงค์ (ศิลปินแห่งชาติ) | |
dc.title.alternative | The study of classical singing teaching methodology : a case study of professor Dusdi Banomyong | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd533/5337014.pdf | |
thesis.degree.department | วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ | |
thesis.degree.discipline | ดนตรี | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |