The effect of The FIFA 11+ warm-up training on balance and proprioception in adolescent futsal players
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xviii, 117 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Witchuda Gritsanadilok The effect of The FIFA 11+ warm-up training on balance and proprioception in adolescent futsal players. Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95208
Title
The effect of The FIFA 11+ warm-up training on balance and proprioception in adolescent futsal players
Alternative Title(s)
การศึกษาผลของโปรแกรมการอบอุ่นร่างกายฟีฟ่า11+ในการรับรู้การเคลื่อนไหวของข้อต่อและการทรงตัวของร่างกายในนักกีฬาฟุตซอลวัยรุ่น
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The purposes of this study were to investigate the long term effects of "The FIFA 11+" warm-up training on joint position sense (JPS) and body center of pressure (CoP) among adolescent futsal players. Ten subjects were trained with "The FIFA 11"+ warm up program (20 minutes/day) at least 3 days/week with regular practice 5 days/week, and 11 subjects were trained with regular warm up (20 minutes) before regular practice 5 days/week. Angle repositioning errors and balance were tested before training (0 week), during (5 weeks), and after training (10 weeks) periods. Angle repositioning error was measured by a joint position sense (JPS) instrument with reliability at 0.835 of both ankle joints on neutral at 0°, dorsiflexion at 10°, and plantarflexion at 15° position. There were no significant differences found between groups and dominant legs, a but significant decrease was found of absolute mean errors on the right ankles at plantarflexion (15°) position (p=0.032), and after training significant positive % change (p=0.031) at week 10. The center of pressure (COP) parameters in the single leg stance position without visual input was found to have a tendency and a significant decrease in anterior/posterior directions after 10 weeks of the training program. These results showed that "The FIFA 11+" program could improve and develop neuromuscular balance control without visual input, and may increase cognition in body control, which has been correlated with the prevention and reduction of lower extremity injuries in futsal players often reported elsewhere.
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลระยะยาวของการฝึกโปรแกรมอบอุ่นร่างกาย "The FIFA 11+" ในการทรงตัวและการรับรู้การเคลื่อนไหวของข้อต่อในนักกีฬาฟุตซอลวัยรุ่นอายุระหว่าง 15-18 ปี กลุ่มทดลอง 10 คน และกลุ่มควบคุม 11 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการฝึกโปรแกรมอบอุ่นร่างกาย"The FIFA 11+" 20 นาทีก่อน การฝึกซ้อมอย่างน้อย3 ครั้ง/สัปดาห์ ก่อนการฝึกซ้อมตามปกติเป็นเวลา 10 สัปดาห์ ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับ โปรแกรมอบอุ่นร่างกายตามปกติก่อนการฝึกซ้อมตามปกติเป็นเวลา 10 สัปดาห์เช่นกัน โดยทำการทดสอบการรับรู้การเคลื่อนไหวของร่างกายของข้อเท้าและการยืนทรงตัวขาเดียวทั้งหลับตาและลืมตา การรับรู้การเคลื่อนไหวของข้อเท้าทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกันระหว่างเวลาและเท้าข้างที่ถนัด แต่ข้อเท้าขวาในตำแหน่งการงุ้มเท้าลง (plantarflexion) ที่ 15° มีการรับรู้การ เคลื่อนไหวที่ดีขึ้นโดยมีองศาที่ผิดพลาดน้อยลงทั้งเท้าข้างที่ถนัดและไม่ถนัดและเมื่อเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การ เปลี่ยนแปลงยังพบว่าทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p=0.031 หลังสัปดาห์ที่ 10 โดยใน กลุ่มทดลองมีค่าความผิดพลาดขององศาน้อยลงตามลำดับ การทดสอบการทรงตัวของร่างกายในแต่ละพารามิเตอร์ ขณะที่มีการหลับตาและลืมตาพบว่าด้าน Anterior/Posterior มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยเฉพาะ ขณะหลับตา ผลการทดลองพบว่ากลุ่มทดลองมีค่าการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง ผลการศึกษานี้สรุปได้ว่าโปรแกรม "The FIFA 11+" มีส่วนช่วยในการพัฒนาระบบประสาทและ กล้ามเนื้อ ขณะปราศจากรับรู้ของระบบประสาทในด้านการมองเห็น ซึ่งมีผลต่อการทรงตัวและการเคลื่อนไหวของ ข้อต่อในร่างกาย ซึ่งอาจช่วยอธิบายได้ว่าทำไมการฝึกฟีฟ่า11+จึงสามารถป้องกันและลดการบาดเจ็บในนักกีฬาฟุตซอล
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลระยะยาวของการฝึกโปรแกรมอบอุ่นร่างกาย "The FIFA 11+" ในการทรงตัวและการรับรู้การเคลื่อนไหวของข้อต่อในนักกีฬาฟุตซอลวัยรุ่นอายุระหว่าง 15-18 ปี กลุ่มทดลอง 10 คน และกลุ่มควบคุม 11 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการฝึกโปรแกรมอบอุ่นร่างกาย"The FIFA 11+" 20 นาทีก่อน การฝึกซ้อมอย่างน้อย3 ครั้ง/สัปดาห์ ก่อนการฝึกซ้อมตามปกติเป็นเวลา 10 สัปดาห์ ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับ โปรแกรมอบอุ่นร่างกายตามปกติก่อนการฝึกซ้อมตามปกติเป็นเวลา 10 สัปดาห์เช่นกัน โดยทำการทดสอบการรับรู้การเคลื่อนไหวของร่างกายของข้อเท้าและการยืนทรงตัวขาเดียวทั้งหลับตาและลืมตา การรับรู้การเคลื่อนไหวของข้อเท้าทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกันระหว่างเวลาและเท้าข้างที่ถนัด แต่ข้อเท้าขวาในตำแหน่งการงุ้มเท้าลง (plantarflexion) ที่ 15° มีการรับรู้การ เคลื่อนไหวที่ดีขึ้นโดยมีองศาที่ผิดพลาดน้อยลงทั้งเท้าข้างที่ถนัดและไม่ถนัดและเมื่อเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การ เปลี่ยนแปลงยังพบว่าทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p=0.031 หลังสัปดาห์ที่ 10 โดยใน กลุ่มทดลองมีค่าความผิดพลาดขององศาน้อยลงตามลำดับ การทดสอบการทรงตัวของร่างกายในแต่ละพารามิเตอร์ ขณะที่มีการหลับตาและลืมตาพบว่าด้าน Anterior/Posterior มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยเฉพาะ ขณะหลับตา ผลการทดลองพบว่ากลุ่มทดลองมีค่าการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง ผลการศึกษานี้สรุปได้ว่าโปรแกรม "The FIFA 11+" มีส่วนช่วยในการพัฒนาระบบประสาทและ กล้ามเนื้อ ขณะปราศจากรับรู้ของระบบประสาทในด้านการมองเห็น ซึ่งมีผลต่อการทรงตัวและการเคลื่อนไหวของ ข้อต่อในร่างกาย ซึ่งอาจช่วยอธิบายได้ว่าทำไมการฝึกฟีฟ่า11+จึงสามารถป้องกันและลดการบาดเจ็บในนักกีฬาฟุตซอล
Description
Sports Science (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Sports Science and Technology
Degree Discipline
Sports Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University