Mechanisms by which family and religious factors influence prosocial behavior among Thai youth
Issued Date
2023
Copyright Date
2012
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 150 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Demography))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Sukhonta Mahaarcha Mechanisms by which family and religious factors influence prosocial behavior among Thai youth. Thesis (Ph.D. (Demography))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89473
Title
Mechanisms by which family and religious factors influence prosocial behavior among Thai youth
Alternative Title(s)
กลไกของปัจจัยทางครอบครัวและศาสนาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเพื่อสังคมของวัยรุ่นไทย
Author(s)
Abstract
A number of studies have indicated that Thai youth have experienced dramatic changes in behavior. Youths' behavior has been primarily shaped by their surrounding context. Family is the major agent of socialization that is involved in youth's outcomes. The main goal of this study is to test the structural models of the predictive relationships of living arrangements and youth's prosocial behavior, mediating with family relations and religiosity. The data used in the current study are from the 2008 Survey on Conditions of Society, Culture, and Mental Health conducted by The National Statistical Office. Findings support the theoretical notion that family relations and religiosity of youths fully mediated the relationship between living with parents only and youth's behavior. Nevertheless, the result showed that living with grandparents only did not influence levels of youth's prosocial behavior. The paper concludes by offering implications for policy to launch religious education and awareness in school or media as well as promoting the program that helps family members to improve their family relationships, with special attention given to youths in no parent families.
งานวิจัยหลายชิ้นระบุว่าพฤติกรรมของวัยรุ่นไทยมีการเปลี่ยนโฉมอย่างมาก พฤติกรรมของวัยรุ่นจะถูกหล่อหลอมจากบริบททางสังคมรอบข้างเป็นหลัก โดยครอบครัวถือเป็นหน่วยของการขัดเกลาทางสังคมหลักที่ส่งผลต่อวัยรุ่น วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้คือการทดสอบ โมเดลเชิงโครงสร้างความสัมพันธ์ของลักษณะการอยู่อาศัยและพฤติกรรมเพื่อสังคมของวัยรุ่น โดย ส่งผ่านความสัมพันธ์ในครอบครัวและความเคร่งศาสนาของวัยรุ่น โดยใช้ข้อมูลจากโครงการสารวจ สภาวะทางสังคม วัฒนธรรม และสุขภาพจิตคนไทย พ.ศ. 2551 ของสานักงานสถิติแห่งชาติ ข้อค้นพบของงงานวิจัยในครั้งนี้สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีที่อ้างถึงความสัมพันธ์ใน ครอบครัวและความเคร่งศาสนาของวัยรุ่นเป็นตัวแปรแทรกกลางของความสัมพันธ์ระหว่างการอยู่ อาศัยกับบิดามารดาและพฤติกรรมเพื่อสังคมของวัยรุ่น ในขณะที่การอยู่อาศัยกับปู่ย่าตายายกลับไม่ ส่งผลต่อพฤติกรรมเพื่อสังคมของวัยรุ่น ทั้งนี้งานวิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการส่งเสริม การศึกษาเกี่ยวกับศาสนาและความตระหนักถึงศาสนาผ่านทางสถาบันการศึกษาหรือสื่อ รวมทั้งการ สนับสนุนโครงการที่ช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์ในสถาบันครอบครัว โดยคำนึงถึงวัยรุ่นที่ไม่ได้ อาศัยอยู่กับบิดามารดาเป็นสำคัญ
งานวิจัยหลายชิ้นระบุว่าพฤติกรรมของวัยรุ่นไทยมีการเปลี่ยนโฉมอย่างมาก พฤติกรรมของวัยรุ่นจะถูกหล่อหลอมจากบริบททางสังคมรอบข้างเป็นหลัก โดยครอบครัวถือเป็นหน่วยของการขัดเกลาทางสังคมหลักที่ส่งผลต่อวัยรุ่น วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้คือการทดสอบ โมเดลเชิงโครงสร้างความสัมพันธ์ของลักษณะการอยู่อาศัยและพฤติกรรมเพื่อสังคมของวัยรุ่น โดย ส่งผ่านความสัมพันธ์ในครอบครัวและความเคร่งศาสนาของวัยรุ่น โดยใช้ข้อมูลจากโครงการสารวจ สภาวะทางสังคม วัฒนธรรม และสุขภาพจิตคนไทย พ.ศ. 2551 ของสานักงานสถิติแห่งชาติ ข้อค้นพบของงงานวิจัยในครั้งนี้สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีที่อ้างถึงความสัมพันธ์ใน ครอบครัวและความเคร่งศาสนาของวัยรุ่นเป็นตัวแปรแทรกกลางของความสัมพันธ์ระหว่างการอยู่ อาศัยกับบิดามารดาและพฤติกรรมเพื่อสังคมของวัยรุ่น ในขณะที่การอยู่อาศัยกับปู่ย่าตายายกลับไม่ ส่งผลต่อพฤติกรรมเพื่อสังคมของวัยรุ่น ทั้งนี้งานวิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการส่งเสริม การศึกษาเกี่ยวกับศาสนาและความตระหนักถึงศาสนาผ่านทางสถาบันการศึกษาหรือสื่อ รวมทั้งการ สนับสนุนโครงการที่ช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์ในสถาบันครอบครัว โดยคำนึงถึงวัยรุ่นที่ไม่ได้ อาศัยอยู่กับบิดามารดาเป็นสำคัญ
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Institute for Population and Social Research
Degree Discipline
Demography
Degree Grantor(s)
Mahidol University