การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งความสุขและประสิทธิผลองค์กรตาม Generation : กรณีศึกษา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)
Issued Date
2567
Copyright Date
2562
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ด, 256 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2562
Suggested Citation
ธิดา รักษา การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งความสุขและประสิทธิผลองค์กรตาม Generation : กรณีศึกษา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)
. วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2562 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91913
Title
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งความสุขและประสิทธิผลองค์กรตาม Generation : กรณีศึกษา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)
Alternative Title(s)
A study of the relationship between happy workplace and organizational effectiveness by generation : a case study of the Department of Mental Health, Ministry of Public Health and Banphaeo General Hospital (public organization)
Author(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นองค์กรแห่งความสุขและประสิทธิผลองค์การของ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) เพื่อเปรียบเทียบความเป็นองค์กรแห่งความสุขระดับองค์กรและจำแนกตาม Generation ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งความสุขกับประสิทธิผลองค์การ ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง 366 คน คือ ข้าราชการ บุคลากร ที่ปฏิบัติงานในกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า 1)ระดับพฤติกรรมความเป็นองค์กรแห่งความสุขและระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลองค์การของ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทั้ง 2 องค์กร 2) บุคลากรทั้ง 3 เจเนอเรชั่นของบุคลากรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข มีระดับพฤติกรรมของการเป็นองค์กรแห่งความสุขที่แตกต่างกัน โดยที่เบบี้บูมเมอร์มีความเป็นองค์กรแห่งความสุขมากกว่าเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเบบี้บูมเมอร์มีความเป็นองค์กรแห่งความสุขมากกว่าเจเนอเรชั่นวายและบุคลากรทั้ง 3 เจเนอเรชั่นของโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) มีระดับพฤติกรรมของการเป็นองค์กรแห่งความสุขที่แตกต่างกัน โดยที่เบบี้บูมเมอร์มีความเป็นองค์กรแห่งความสุขมากกว่าเจเนอเรชั่นวาย 3) พบว่าองค์กรแห่งความสุขมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลองค์การของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ในระดับปานกลาง และองค์กรแห่งความสุขมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลองค์การของโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) ในระดับน้อย
This quantitative research aimed : to study the happy workplace and organizational effectiveness, to compare happy workplace and classify by Generation and to study the relationship between the happy workplace and organizational effectiveness of the DMH, Ministry of Public Health and BGH, a Public Organization. The sample group consisted of 366 central staff members of the DMS and BGH. The research results showed that opinions about the level of behavior regarding happy workplace and level of opinions regarding organizational effectiveness of both places were high. Comparison and classification by generation in the DMH shows that baby boomers have a more happy workplace than generation X and Y, the difference is statistically significant (P-Value = .000). But in BGH, baby boomers have a more happy workplace than generation Y only (P-Value = .039). The relationship between the happy workplace and organizational effectiveness of the DMS are correlated at moderate level and BGH are correlated at low level. Human Resources Department of the DMS and BGH should organize activities for supporting happy workplace by generation, since organizations with happy workplace show positive effect for organization effectiveness.
This quantitative research aimed : to study the happy workplace and organizational effectiveness, to compare happy workplace and classify by Generation and to study the relationship between the happy workplace and organizational effectiveness of the DMH, Ministry of Public Health and BGH, a Public Organization. The sample group consisted of 366 central staff members of the DMS and BGH. The research results showed that opinions about the level of behavior regarding happy workplace and level of opinions regarding organizational effectiveness of both places were high. Comparison and classification by generation in the DMH shows that baby boomers have a more happy workplace than generation X and Y, the difference is statistically significant (P-Value = .000). But in BGH, baby boomers have a more happy workplace than generation Y only (P-Value = .039). The relationship between the happy workplace and organizational effectiveness of the DMS are correlated at moderate level and BGH are correlated at low level. Human Resources Department of the DMS and BGH should organize activities for supporting happy workplace by generation, since organizations with happy workplace show positive effect for organization effectiveness.
Description
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2562)
Degree Name
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล