Floral association communities of the potential invasive weed, Lantana camara L. Sensu Lato, in Kanchanaburi, Thailand
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 62 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Kamonwan Kritasampan Floral association communities of the potential invasive weed, Lantana camara L. Sensu Lato, in Kanchanaburi, Thailand. Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93276
Title
Floral association communities of the potential invasive weed, Lantana camara L. Sensu Lato, in Kanchanaburi, Thailand
Alternative Title(s)
ชุมชนสัตว์บนดอกผกากรอง (Lantana camara) ซึ่งสามารถเป็นวัชพืชต่างถิ่นรุกรานในจังหวัดกาญจนบุรี ประเทศไทย
Author(s)
Abstract
Lantana camara L. is an important invasive plant species in many regions around the world. Efficient reproductive characteristics and pollination by insects seems to be of major importance to its spread and invasion into new areas. Therefore, this study aims to explore population parameters (population size and density) and percent coverage of L. camara, taxonomy of flower-visiting animals, and their activities during their visit. Field work was conducted at Mahidol University, Kanchanaburi Campus, Sai Yok District, Kanchanaburi Province, Thailand with eleven intercept lines, and a total of three kilometers baseline for measuring L. camara patch sizes and acquisition of total areas. Animal communities' surveys were conducted bimonthly throughout a year (Nov 2013-Dec 2014) based on twelve-hour daytime observations. Results showed that L. camara distribution possibly varied across habitat selection. The largest value of estimated population size was 4,759 shrubs, but some lines had no shrubs across lines. The estimated population density was 37 ± 1,140 shrubs per ha, and L. camara cover was 1.63% in relation to total area. For flower-visiting animals, a total of 27 taxonomic groups of arthropods and one bird species were recorded visiting and/or living on flowers/inflorescences of L. camara. Bees and adult butterflies showed the highest frequencies of visits, 32% and 28% respectively. While, lace bugs spent the longest time on flowers of L. camara for both total visiting time and length of time per visit. For small arthropods extracted from the inflorescences, thrips and mites were the most frequently found animals in all surveys. Moreover, thrips were found in large numbers and in significantly higher numbers during the dry season (Nov-Dec 2013, and 2014) than in the wet season. Several groups of associated animals found here were noted as potential pollinators, such as bees, butterflies, and thrips. Whereas, other phytophagous groups, such as hemipterans and mites, could possibly be used as biological control agents of L. camara.
ผกากรองจัดเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานที่สำคัญซึ่งแพร่กระจายไปยังหลากหลายประเทศทั่วโลกกระบวนการสืบพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพและขั้นตอนการถ่ายละอองเรณูโดยแมลงเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้ผกากรอง สามารถแพร่กระจายและรุกรานไปยังพื้นที่แห่งใหม่ การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจวัดและประมาณค่าพารามิเตอร์ของประชากร เช่น ขนาดและความหนาแน่นของประชากร อีกทั้งค่าเปอร์เซ็นต์การปกคลุมของกลุ่มต้นผกากรอง การจำแนกทางอนุกรมวิธานของสัตว์ผู้เยี่ยมดอกและกิจกรรมที่สัตว์เหล่านั้นทำ ในระหว่างการเข้าเยี่ยม การสำรวจภาคสนามดำเนินการในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้วิธีการเดินลากเส้นตัดขวางพื้นที่รวมทั้งหมด 11 เส้น เป็นระยะทางทั้งสิ้น 3 กิโลเมตร เพื่อวัดขนาดและพื้นที่ปกคลุมของกลุ่มต้นผกากรอง การเก็บข้อมูลของชุมชนสัตว์ผู้เยี่ยมดอก ได้ดำเนินการทุก 2 เดือน เป็นระยะเวลา 1 ปี (พ.ย.56- ธ.ค.57) เป็นเวลา 12 ชั่วโมงในเวลากลางวัน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การกระจายของกลุ่มต้นผกากรองผันแปรตามแหล่งอาศัยที่เหมาะสม ค่าประมาณขนาดของประชากรที่มากที่สุดเท่ากับ 4,759 ต้น อย่างไรก็ตาม ในบางเส้นตัดขวางที่ศึกษาไม่พบกลุ่มต้นของผกากรองอยู่เลย ค่าประมาณความหนาแน่นของประชากรของกลุ่มต้นผกากรองในพื้นที่อยู่ระหว่าง 37 ± 1,140 ต้นต่อเฮกตาร์ และเปอร์เซ็นต์การปกคลุมของผกากรองในพื้นที่มีค่าเพียง 1.63% เมื่อเทียบกับพื้นที่ทั้งหมด ผลการศึกษาสัตว์ผู้เยี่ยมดอก พบสัตว์ขาข้อทั้งสิ้น 27 กลุ่ม และนกกินปลี 1 ชนิด เข้าเยี่ยมหรืออาศัยอยู่บนดอกและช่อดอกของผกากรอง ผึ้งและผีเสื้อกลางวันมีค่าความถี่การเข้าเยี่ยมสูงที่สุดเท่ากับ 32% และ 28% ตามลำดับ ในขณะที่มวนปีกแก้ว ใช้เวลาบนดอกยาวนานที่สุดทั้งในส่วนของผลรวมเวลาการเข้าเยี่ยมและความยาวนานต่อครั้ง สำหรับตัวอย่างของสัตว์ขาข้อขนาดเล็กที่ได้จากการแยกจากช่อดอก พบเพลี้ยไฟ และไร เป็นกลุ่มสัตว์ที่พบได้บ่อยที่สุดในทุกครั้งของการสำรวจ นอกจากนั้นยังพบเพลี้ยไฟในปริมาณมากในช่วงหน้าแล้ง (พ.ย.-ธ.ค.56,57) ซึ่งมากกว่าช่วงหน้าฝนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สัตว์หลากหลายกลุ่มที่พบในการศึกษาครั้งนี้มีความสัมพันธ์กับดอกผกากรองในแง่ของการเป็นสัตว์ที่มีศักยภาพช่วยผสมเกสร เช่น ผึ้ง ผีเสื้อกลางวัน และเพลี้ยไฟ ส่วนบางกลุ่มที่เป็น พวกสัตว์กินพืช เช่น มวนต่าง ๆ และไร ก็สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในแง่ของการเป็นตัวควบคุมทางชีวภาพได้
ผกากรองจัดเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานที่สำคัญซึ่งแพร่กระจายไปยังหลากหลายประเทศทั่วโลกกระบวนการสืบพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพและขั้นตอนการถ่ายละอองเรณูโดยแมลงเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้ผกากรอง สามารถแพร่กระจายและรุกรานไปยังพื้นที่แห่งใหม่ การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจวัดและประมาณค่าพารามิเตอร์ของประชากร เช่น ขนาดและความหนาแน่นของประชากร อีกทั้งค่าเปอร์เซ็นต์การปกคลุมของกลุ่มต้นผกากรอง การจำแนกทางอนุกรมวิธานของสัตว์ผู้เยี่ยมดอกและกิจกรรมที่สัตว์เหล่านั้นทำ ในระหว่างการเข้าเยี่ยม การสำรวจภาคสนามดำเนินการในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้วิธีการเดินลากเส้นตัดขวางพื้นที่รวมทั้งหมด 11 เส้น เป็นระยะทางทั้งสิ้น 3 กิโลเมตร เพื่อวัดขนาดและพื้นที่ปกคลุมของกลุ่มต้นผกากรอง การเก็บข้อมูลของชุมชนสัตว์ผู้เยี่ยมดอก ได้ดำเนินการทุก 2 เดือน เป็นระยะเวลา 1 ปี (พ.ย.56- ธ.ค.57) เป็นเวลา 12 ชั่วโมงในเวลากลางวัน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การกระจายของกลุ่มต้นผกากรองผันแปรตามแหล่งอาศัยที่เหมาะสม ค่าประมาณขนาดของประชากรที่มากที่สุดเท่ากับ 4,759 ต้น อย่างไรก็ตาม ในบางเส้นตัดขวางที่ศึกษาไม่พบกลุ่มต้นของผกากรองอยู่เลย ค่าประมาณความหนาแน่นของประชากรของกลุ่มต้นผกากรองในพื้นที่อยู่ระหว่าง 37 ± 1,140 ต้นต่อเฮกตาร์ และเปอร์เซ็นต์การปกคลุมของผกากรองในพื้นที่มีค่าเพียง 1.63% เมื่อเทียบกับพื้นที่ทั้งหมด ผลการศึกษาสัตว์ผู้เยี่ยมดอก พบสัตว์ขาข้อทั้งสิ้น 27 กลุ่ม และนกกินปลี 1 ชนิด เข้าเยี่ยมหรืออาศัยอยู่บนดอกและช่อดอกของผกากรอง ผึ้งและผีเสื้อกลางวันมีค่าความถี่การเข้าเยี่ยมสูงที่สุดเท่ากับ 32% และ 28% ตามลำดับ ในขณะที่มวนปีกแก้ว ใช้เวลาบนดอกยาวนานที่สุดทั้งในส่วนของผลรวมเวลาการเข้าเยี่ยมและความยาวนานต่อครั้ง สำหรับตัวอย่างของสัตว์ขาข้อขนาดเล็กที่ได้จากการแยกจากช่อดอก พบเพลี้ยไฟ และไร เป็นกลุ่มสัตว์ที่พบได้บ่อยที่สุดในทุกครั้งของการสำรวจ นอกจากนั้นยังพบเพลี้ยไฟในปริมาณมากในช่วงหน้าแล้ง (พ.ย.-ธ.ค.56,57) ซึ่งมากกว่าช่วงหน้าฝนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สัตว์หลากหลายกลุ่มที่พบในการศึกษาครั้งนี้มีความสัมพันธ์กับดอกผกากรองในแง่ของการเป็นสัตว์ที่มีศักยภาพช่วยผสมเกสร เช่น ผึ้ง ผีเสื้อกลางวัน และเพลี้ยไฟ ส่วนบางกลุ่มที่เป็น พวกสัตว์กินพืช เช่น มวนต่าง ๆ และไร ก็สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในแง่ของการเป็นตัวควบคุมทางชีวภาพได้
Description
Environmental Biology (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Environmental Biology
Degree Grantor(s)
Mahidol University