The effectiveness of the pay-for-performance scheme in health care systems with universal health coverage : a systematic review
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 153 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Health Administration))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Nithimar Sermsuti-anuwat The effectiveness of the pay-for-performance scheme in health care systems with universal health coverage : a systematic review. Thesis (M.Sc. (Health Administration))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95168
Title
The effectiveness of the pay-for-performance scheme in health care systems with universal health coverage : a systematic review
Alternative Title(s)
ประสิทธิผลของการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงานในระบบสุขภาพที่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
Author(s)
Abstract
The main purpose of this systematic review was to examine the effectiveness of pay-for-performance (P4P) for improving health service quality and the accessibility of care in the universal health coverage (UHC) context. Searches were carried out in five electronic databases: Cochrane Library, MEDLINE, PUBMED, EBSCO, and CINAHL. Only the research papers published in English between 2000 and 2013 were included in this review based on the following inclusion criteria: (1) the studies were conducted in countries that provided UHC; (2) P4P were implemented on the supply side; (3) the quality performances of the outcomes were reported. The quality of the studies was then assessed by using the modified version of The Newcastle-Ottawa Scale (NOS). The electronic search obtained 2,264 publications of which 23 papers met all the inclusion criteria. Most of the studies reported that the achievement of service quality outcome reached the set targets in the period of P4P implementation rather than in the non-P4P period. The P4P scheme implemented in the context of the lower baseline of performance showed more improvements than at the higher baseline. In addition, the P4P scheme could enhance a steady increase in both quality of services and accessibility in the first three years of implementation; after this, the growth rates declined, but still showed improvements. This study suggests that pay-per-performance (P4P) is probably the most efficient incentive scheme for the low productive health care service areas. Furthermore, the effectiveness of P4P lasts for a reliable period; after that a new incentive scheme may be considered to boost the outcomes.
วัตถุประสงค์หลักของการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบนี้คือ เพื่อศึกษาประสิทธิผล ของการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน (pay-for-performance) ต่อการเพิ่มคุณภาพในการรักษาและการ เพิ่มการเข้าถึงการให้บริการด้านสุขภาพ ภายใต้บริบทของระบบสุขภาพที่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยการสืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากฐานข้อมูลอิเล็คทรอนิคส์ ดังนี้ Cochrane Library, MEDLINE, PUBMED, EBSCO และ CINAHL ขอบเขตงานวิจัยที่นำมาทบทวนวรรณกรรม เป็นงานวิจัยภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์ ระหว่างปี ค.ศ.2000-2013 ตามเกณฑ์คัดเข้า (Inclusion criteria) คือ (1) เป็นงานวิจัยที่ทำการศึกษาภายใต้ บริบทของระบบสุขภาพที่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (2) มีการการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน ให้แก่ผู้ให้บริการด้านสุขภาพ (3) มีการรายงานผลการปฏิบัติงานเชิงคุณภาพ การประเมินคุณภาพของ งานวิจัยใช้แบบประเมิน Newcastle-Ottawa Scale (NOS) ผลการสืบค้นได้งานวิจัยจากฐานข้อมูลจำนวน 2,264 เรื่อง โดยมี 23 เรื่อง ตรงตามเกณฑ์การ คัดเข้า พบว่างานวิจัยส่วนใหญ่รายงานว่า การจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน สามารถเพิ่มคุณภาพใน การรักษาและเพิ่มการเข้าถึงการให้บริการด้านสุขภาพ งานวิจัยนี้พบว่าการใช้การจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน (pay-for-performance) ในงาน บริการสุขภาพที่มีผลประสิทธิผลต่ำ จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลได้ดีกว่าในงานที่มีประสิทธิผลดีอยู่แล้ว และ พบว่าประสิทธิผลจะเพิ่มขึ้นภายในระยะเวลา 3 ปีแรก หลังจากนั้นประสิทธิผลจะลดลง แต่ยังคงสูงกว่า ก่อนนำการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน (pay-for-performance) มาใช้ จึงจำเป็นต้องมีการประเมิน ประสิทธิผลของงานอย่างต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์หลักของการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบนี้คือ เพื่อศึกษาประสิทธิผล ของการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน (pay-for-performance) ต่อการเพิ่มคุณภาพในการรักษาและการ เพิ่มการเข้าถึงการให้บริการด้านสุขภาพ ภายใต้บริบทของระบบสุขภาพที่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยการสืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากฐานข้อมูลอิเล็คทรอนิคส์ ดังนี้ Cochrane Library, MEDLINE, PUBMED, EBSCO และ CINAHL ขอบเขตงานวิจัยที่นำมาทบทวนวรรณกรรม เป็นงานวิจัยภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์ ระหว่างปี ค.ศ.2000-2013 ตามเกณฑ์คัดเข้า (Inclusion criteria) คือ (1) เป็นงานวิจัยที่ทำการศึกษาภายใต้ บริบทของระบบสุขภาพที่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (2) มีการการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน ให้แก่ผู้ให้บริการด้านสุขภาพ (3) มีการรายงานผลการปฏิบัติงานเชิงคุณภาพ การประเมินคุณภาพของ งานวิจัยใช้แบบประเมิน Newcastle-Ottawa Scale (NOS) ผลการสืบค้นได้งานวิจัยจากฐานข้อมูลจำนวน 2,264 เรื่อง โดยมี 23 เรื่อง ตรงตามเกณฑ์การ คัดเข้า พบว่างานวิจัยส่วนใหญ่รายงานว่า การจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน สามารถเพิ่มคุณภาพใน การรักษาและเพิ่มการเข้าถึงการให้บริการด้านสุขภาพ งานวิจัยนี้พบว่าการใช้การจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน (pay-for-performance) ในงาน บริการสุขภาพที่มีผลประสิทธิผลต่ำ จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลได้ดีกว่าในงานที่มีประสิทธิผลดีอยู่แล้ว และ พบว่าประสิทธิผลจะเพิ่มขึ้นภายในระยะเวลา 3 ปีแรก หลังจากนั้นประสิทธิผลจะลดลง แต่ยังคงสูงกว่า ก่อนนำการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน (pay-for-performance) มาใช้ จึงจำเป็นต้องมีการประเมิน ประสิทธิผลของงานอย่างต่อเนื่อง
Description
Health Administration (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Health Administration
Degree Grantor(s)
Mahidol University