A policy analysis of state-civil unity to save the villages/communities from narcotics act of 2016-2017 : Bangkok
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 167 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Addiction Studies))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Korawee Pairod A policy analysis of state-civil unity to save the villages/communities from narcotics act of 2016-2017 : Bangkok. Thesis (M.A. (Addiction Studies))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91803
Title
A policy analysis of state-civil unity to save the villages/communities from narcotics act of 2016-2017 : Bangkok
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์นโยบายประชารัฐร่วมใจ สร้างหมู่บ้าน/ชุมชนมั่นคง ปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ. 2559-2560 กรณีศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The government policy of "State-Civil Unity to Save the Villages/ Communities from Narcotics Act of 2016-17" has the goal of prevailing over the problem of drug addiction in 81,905 villages/communities throughout the nation. The policy calls for a strategy and process of public engagement, with national oversight from the Office of the Narcotics Control Board (ONCB). The vision is that this strategy will create a cascade of action from the national, to the regional, the provincial, and district levels. This research had the objective to analyze this policy as applied in Bangkok. This was a mixed-method research starting with a review of the existing documentation for the period of 2016-2017. Primary data were collected by group interview with six key informants from the study areas. In addition, a cross-sectional survey was conducted in purposively-selected communities including interviews with 422 members of the general population. This research found that the study area had a local Drug Control Committee made of members from multiple sectors. Two-thirds of members were from the government agencies. The principal implementing agency was the community development unit in collaboration with administrative offices. The activities were implemented according to the plan and projects based on the guidance and funding from the ONCB. Key activities included motivating the local residents to increase concern about the harm of drug addiction and learning prevention tactics. Based on the community survey, most residents (59%) were aware of the policy and implementation, and two-thirds participated in the implementation at a 'moderate' level. However, some residents were hesitant of becoming too involved out of concern for their personal safety. Based on the findings of this study, it seems that the government needs to continue to take the leadership role in drug control, employing a community-led approach starting from the ordinary people in the society.
นโยบายประชารัฐร่วมใจสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนมั่นคงปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ. 2559-2560 มีเป้าหมาย เอาชนะปัญหายาเสพติดในระดับหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ 81,905 แห่ง ด้วยกลไกและกระบวนการของประชารัฐ โดยมีองค์กรกำหนดนโยบาย ได้แก่ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) คณะกรรมการอำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ (ศอ.ปส.) เป็นกลไกการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติทั้งในระดับประเทศ ระดับภาค ระดับจังหวัด/กรุงเทพมหานคร และระดับอำเภอ/เขต การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นโยบายประชารัฐร่วมใจฯ พ.ศ. 2559-2560 ในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การรับรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อนโยบายประชารัฐร่วมใจฯ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน โดยการตรวจสอบรายการเอกสาร ในช่วงปี พ.ศ. 2559-2560 การสัมภาษณ์กลุ่มกับ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการนำนโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่กรณีศึกษา จำนวน 6 คน ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง และการสำรวจแบบภาคตัดขวาง (Community-based Cross) กับประชาชนทั่วไป ด้วยแบบสอบถาม จำนวน 422 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า พื้นที่กรณีศึกษามีการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใช้รูปแบบคณะกรรมการที่มาจากหลายส่วน ซึ่งสัดส่วนจะเป็นคนในภาครัฐมากกว่า 65% หน่วยงานที่ดำเนินงานหลัก คือส่วนงานพัฒนาชุมชนร่วมกับส่วนงานปกครอง มีการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ ที่กำหนดมาจากสำนักงาน ป.ป.ส. โดยมีการจัดสรรงบประมาณมาตามแผนงาน โครงการนั้นด้วย กิจกรรมที่เน้นหนักคือการป้องกันที่มีกิจกรรมการเข้าไปกระตุ้นให้ประชาชนได้เกิดความตระหนักถึงโทษ พิษภัยของยาเสพติดรวมถึงแนวทางการป้องกันปัญหายาเสพติด จากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้ดำเนินการได้รับรู้และปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวตามปกติ จากข้อมูลการสำรวจการมีส่วนร่วมและการรับรู้นโยบาย พบว่า ประชาชนทราบถึงนโยบาย 59.2% และ 2/3 มีส่วนร่วมในการดำเนินการตามนโยบายในระดับปานกลาง ประชาชนกลัวที่จะเข้ามามี ส่วนร่วมและร่วมมือในการดาเนินกิจกรรม ไม่เชื่อมั่นในความปลอดภัย การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าภาครัฐยังคงเป็นผู้ดาเนินการหลัก ไม่ใช่ชุมชนที่เป็นเป้าหมายในการดาเนินการตามนโยบายนี้
นโยบายประชารัฐร่วมใจสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนมั่นคงปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ. 2559-2560 มีเป้าหมาย เอาชนะปัญหายาเสพติดในระดับหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ 81,905 แห่ง ด้วยกลไกและกระบวนการของประชารัฐ โดยมีองค์กรกำหนดนโยบาย ได้แก่ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) คณะกรรมการอำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ (ศอ.ปส.) เป็นกลไกการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติทั้งในระดับประเทศ ระดับภาค ระดับจังหวัด/กรุงเทพมหานคร และระดับอำเภอ/เขต การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นโยบายประชารัฐร่วมใจฯ พ.ศ. 2559-2560 ในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การรับรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อนโยบายประชารัฐร่วมใจฯ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน โดยการตรวจสอบรายการเอกสาร ในช่วงปี พ.ศ. 2559-2560 การสัมภาษณ์กลุ่มกับ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการนำนโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่กรณีศึกษา จำนวน 6 คน ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง และการสำรวจแบบภาคตัดขวาง (Community-based Cross) กับประชาชนทั่วไป ด้วยแบบสอบถาม จำนวน 422 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า พื้นที่กรณีศึกษามีการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใช้รูปแบบคณะกรรมการที่มาจากหลายส่วน ซึ่งสัดส่วนจะเป็นคนในภาครัฐมากกว่า 65% หน่วยงานที่ดำเนินงานหลัก คือส่วนงานพัฒนาชุมชนร่วมกับส่วนงานปกครอง มีการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ ที่กำหนดมาจากสำนักงาน ป.ป.ส. โดยมีการจัดสรรงบประมาณมาตามแผนงาน โครงการนั้นด้วย กิจกรรมที่เน้นหนักคือการป้องกันที่มีกิจกรรมการเข้าไปกระตุ้นให้ประชาชนได้เกิดความตระหนักถึงโทษ พิษภัยของยาเสพติดรวมถึงแนวทางการป้องกันปัญหายาเสพติด จากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้ดำเนินการได้รับรู้และปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวตามปกติ จากข้อมูลการสำรวจการมีส่วนร่วมและการรับรู้นโยบาย พบว่า ประชาชนทราบถึงนโยบาย 59.2% และ 2/3 มีส่วนร่วมในการดำเนินการตามนโยบายในระดับปานกลาง ประชาชนกลัวที่จะเข้ามามี ส่วนร่วมและร่วมมือในการดาเนินกิจกรรม ไม่เชื่อมั่นในความปลอดภัย การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าภาครัฐยังคงเป็นผู้ดาเนินการหลัก ไม่ใช่ชุมชนที่เป็นเป้าหมายในการดาเนินการตามนโยบายนี้
Description
Addiction Studies (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
ASEAN Institute for Health Development
Degree Discipline
Addiction Studies
Degree Grantor(s)
Mahidol University