Effects of sports drink on endurance performance in healthy Thai males after glycogen depletion
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 71 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Sothida Nantakool Effects of sports drink on endurance performance in healthy Thai males after glycogen depletion. Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92396
Title
Effects of sports drink on endurance performance in healthy Thai males after glycogen depletion
Alternative Title(s)
ผลของเครื่องดื่มทางการกีฬาต่อสมรรถภาพทางกายแบบทนทานในชายไทยสุขภาพดีภายหลังการพร่องของไกลโคเจน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The purpose of this study was to examine the effects of sports drink intake on endurance performance, in concomitant with cardiorespiratory, blood chemistry, and metabolic variables. Fourteen healthy males with ages ranged from 18-25 years old participated in 3 trials, with 1 week apart. Three consecutive occasions in each trial, including glycogen depletion, recovery period and endurance exercise (cycling at 70%VO2peak), were employed. During 2 hours recovery period, subjects were randomly assigned to three kinds of fluid intake including sports drink (SD, 10%carbohydrate, 0.16%electrolytes, placebo (PL, 10%carbohydrate) and plain water (WT). The time to exhaustion and work done, cardiorespiratory, blood lactate and glucose concentrations and metabolic variables were recorded. The results showed longer time to exhaustion in SD (52.93 ± 6.98 min) than PL (45.05 ± 4.47 min) and WT (37.95 ± 4.92 min), but significant difference was only observed between SD and WT (p<0.05). Significantly higher work done under SD and PL compared with WT, significantly higher ejection fraction (EF) (p<0.05) in SD than WT. Moreover, significantly lower minute ventilation under SD than PL and WT (p<0.05). There was no difference in blood lactate, blood glucose among three groups. It can be concluded that carbohydrate with electrolytes did not affect cardiorespiratory function, as well as blood chemistry profiles. However, additional electrolytes in sports drink tend to exhibit further exhaustive time.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเครื่องดื่มทางการกีฬาต่อสมรรถภาพทางกายแบบทนทานร่วมกับการเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหายใจ สารเคมีในเลือด และระบบเผาผลาญในชายไทยสุขภาพดี โดยจะคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัยเพศชาย ช่วงอายุ 18-25 ปี จำนวน 14 คนเพื่อเข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 3 ครั้ง และมีระยะเวลาห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ โดยแต่ละครั้งจะประกอบด้วยการทดสอบ 3 ช่วงดังนี้ 1.การทำให้สารไกลโคเจนในร่างกายหมดไป 2.ช่วงพักฟื้นร่างกาย และ 3.การออกกําลังกายแบบทนทานที่ระดับความหนัก 70%ของอัตราการใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกาย ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการสุ่มให้เครื่องดื่ม 3 ชนิดได้แก่ เครื่องดื่มทางการกีฬา (สารคาร์โบไฮเดรต 10%, สารอิเล็กโทรไลต์ 0.16%), เครื่องดื่มหลอก (สารคาร์โบไฮเดรต 10%) และนํ้าเปล่าในช่วงพักฟื้น 2 ชั่วโมง ระยะเวลาการออกกําลังกายจนล้า, ตัวแปรของระบบหัวใจและหายใจ, สารแลคเตทและกลูโคสในเลือด และตัวแปรของระบบเผาผลาญถูกวัดและบันทึกในระหว่างการทดสอบ จากผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาการออกกําลังกายในผู้ที่ได้รับเครื่องดื่มทางการกีฬา เครื่องดื่มหลอก และนํ้าเปล่าคือ 52.93 ± 6.98 นาที, 45.05 ± 4.47 นาที และ 37.95 ± 4.92 นาทีตามลำดับ อย่างไรก็ตาม มีเพียงเครื่องดื่มทางการกีฬาและนํ้าเปล่าที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) นอกจากนี้ยังพบว่างานที่ได้ (work done) ในเครื่องดื่มทางการกีฬาและเครื่องดื่มหลอกมีค่าสูงกว่านํ้าเปล่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ยิ่งไปกว่านั้นพบว่าค่าความสามารถของหัวใจในการบีบเลือดออกจากหัวใจ (Ejection fraction) และปริมาตรอากาศต่อนาที (minute ventilation)ของกลุ่มเครื่องดื่มทางการกีฬามีค่ามากกว่า และน้อยกว่ากลุ่มเครื่องดื่มหลอกและนํ้าเปล่า ตามลำดับ (p<0.05) อย่างไรก็ตาม ไม่พบความแตกต่างระหว่าง 3 กลุ่มของสารแลคเตทและกลูโคสในเลือด สรุปผลการศึกษา เครื่องดื่มสารคาร์โบไฮเดรตและสารอิเล็กโทรไลต์ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหายใจ รวมทั้งสารเคมีในเลือด อย่างไรก็ตาม เครื่องดื่มสารคาร์โบไฮเดรตและสารอิเล็กโทรไลต์มีแนวโน้มต่อการยืดระยะเวลาการออกกําลังกายจนกว่าจะล้าได้ดีกว่าสารคาร์โบไฮเดรตเพียงอย่างเดียว
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเครื่องดื่มทางการกีฬาต่อสมรรถภาพทางกายแบบทนทานร่วมกับการเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหายใจ สารเคมีในเลือด และระบบเผาผลาญในชายไทยสุขภาพดี โดยจะคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัยเพศชาย ช่วงอายุ 18-25 ปี จำนวน 14 คนเพื่อเข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 3 ครั้ง และมีระยะเวลาห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ โดยแต่ละครั้งจะประกอบด้วยการทดสอบ 3 ช่วงดังนี้ 1.การทำให้สารไกลโคเจนในร่างกายหมดไป 2.ช่วงพักฟื้นร่างกาย และ 3.การออกกําลังกายแบบทนทานที่ระดับความหนัก 70%ของอัตราการใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกาย ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการสุ่มให้เครื่องดื่ม 3 ชนิดได้แก่ เครื่องดื่มทางการกีฬา (สารคาร์โบไฮเดรต 10%, สารอิเล็กโทรไลต์ 0.16%), เครื่องดื่มหลอก (สารคาร์โบไฮเดรต 10%) และนํ้าเปล่าในช่วงพักฟื้น 2 ชั่วโมง ระยะเวลาการออกกําลังกายจนล้า, ตัวแปรของระบบหัวใจและหายใจ, สารแลคเตทและกลูโคสในเลือด และตัวแปรของระบบเผาผลาญถูกวัดและบันทึกในระหว่างการทดสอบ จากผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาการออกกําลังกายในผู้ที่ได้รับเครื่องดื่มทางการกีฬา เครื่องดื่มหลอก และนํ้าเปล่าคือ 52.93 ± 6.98 นาที, 45.05 ± 4.47 นาที และ 37.95 ± 4.92 นาทีตามลำดับ อย่างไรก็ตาม มีเพียงเครื่องดื่มทางการกีฬาและนํ้าเปล่าที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) นอกจากนี้ยังพบว่างานที่ได้ (work done) ในเครื่องดื่มทางการกีฬาและเครื่องดื่มหลอกมีค่าสูงกว่านํ้าเปล่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ยิ่งไปกว่านั้นพบว่าค่าความสามารถของหัวใจในการบีบเลือดออกจากหัวใจ (Ejection fraction) และปริมาตรอากาศต่อนาที (minute ventilation)ของกลุ่มเครื่องดื่มทางการกีฬามีค่ามากกว่า และน้อยกว่ากลุ่มเครื่องดื่มหลอกและนํ้าเปล่า ตามลำดับ (p<0.05) อย่างไรก็ตาม ไม่พบความแตกต่างระหว่าง 3 กลุ่มของสารแลคเตทและกลูโคสในเลือด สรุปผลการศึกษา เครื่องดื่มสารคาร์โบไฮเดรตและสารอิเล็กโทรไลต์ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหายใจ รวมทั้งสารเคมีในเลือด อย่างไรก็ตาม เครื่องดื่มสารคาร์โบไฮเดรตและสารอิเล็กโทรไลต์มีแนวโน้มต่อการยืดระยะเวลาการออกกําลังกายจนกว่าจะล้าได้ดีกว่าสารคาร์โบไฮเดรตเพียงอย่างเดียว
Description
Sports Science (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Sports Science and Technology
Degree Discipline
Sports Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University