Investigation of Thai plants for potential sources of inulin-type fructans
dc.contributor.advisor | Kunchit Judprasong | |
dc.contributor.advisor | Pongtorn Sungpuag | |
dc.contributor.author | Siriporn Tanjor | |
dc.date.accessioned | 2024-02-08T02:09:44Z | |
dc.date.available | 2024-02-08T02:09:44Z | |
dc.date.copyright | 2010 | |
dc.date.created | 2010 | |
dc.date.issued | 2010 | |
dc.description | Nutrition (Mahidol University 2010) | |
dc.description.abstract | ฟรุกแตนซึ่งมีอินนูลินเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ เป็นโพลีแซคคาไรค์ชนิดหนึ่งที่มีการนำมาใช้เป็น ส่วนประกอบหนึ่งในอาหารหลายผลิตภัณฑ์ มีหลายการศึกษาที่พบฟรุกแตนและฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรค์ใน พืชประเภทพืชหัวกลุ่มที่เป็นแหล่งสะสมของแป้ง ผลไม้ และผักชนิดต่างๆ อย่างไรก็ตามยังไม่มีข้อมูลสารเหล่านี้ ในอาหารที่รับประทานได้ในประเทศไทย ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์หา ปริมาณฟรุกแตน, ฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรค์ชนิดต่างๆ และน้ำตาล ในพืชที่น่าจะเป็นแหล่งของสารเหล่านี้ ได้ ทำการศึกษาเบื้องต้นด้วยการคัดเลือกพืชที่น่าจะเป็นแหล่งอาหารของฟรุกแตน และฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรค์ จำนวน 47 ชนิด ใน 5 กลุ่มอาหาร จากตลาดแห่งหนึ่ง วิเคราะห์ด้วยวิธีมาตรฐานสากล (AOAC Method 997.08) และตรวจวัดปริมาณสารเหล่านี้ด้วยเครื่องแก๊สโครมาโตกราฟี ผลจากการศึกษาเบื้องต้นนำมาพิจารณาคัดเลือก พืชที่มีปริมาณฟรุกแตนค่อนข้างสูงเพื่อทำการสุ่มซื้อจากตลาดอีก 2 แห่งโดยดำเนินการวิเคราะห์แบบเดียวกัน ผล การศึกษาพบตัวอย่างที่มีฟรุกแตนสูง ได้แก่ กระเทียมโทนหัวใหญ่, กระเทียมจีน, กระเทียมไทย และแก่นตะวัน (29.16+5.62, 24.29+1.94, 22.44+2.86 และ 19.36+1.04 กรัมต่อ100 กรัมตัวอย่างสด ตามลำดับ) และพบตัวอย่าง ที่มีปริมาณฟรุกแตนปานกลางคือ หอมแดง และหอมแขก (8.86+0.75 และ 3.56+0.95 กรัมต่อ100 กรัมตัวอย่าง สด ตามลำดับ) ส่วนฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรค์พบปริมาณสูงในแก่นตะวัน, หอมแดง และหอมแขก (5.18+0.04, 4.98+0.51 และ 3.09+0.54 กรัมต่อ100 กรัมตัวอย่างสด ตามลำดับ) ผลจากการศึกษาครั้งนี้ทำให้ได้ข้อมูลของฟรุก แตน และฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรค์ในพืชของไทยซึ่งข้อมูลเหล่านี้น่าจะเป็นประโยชน์กับผู้บริโภค งานด้านการ เรียนการสอน และบุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับสุขภาพ | |
dc.format.extent | xiii, 72 leaves : col. ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Nutrition))--Mahidol University, 2010 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95415 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Fructans -- Physiological effect | |
dc.subject | Functional foods | |
dc.subject | Inulin -- physiology | |
dc.subject | Plants -- Thailand | |
dc.title | Investigation of Thai plants for potential sources of inulin-type fructans | |
dc.title.alternative | การศึกษาพืชของไทยที่เป็นแหล่งของฟรุกแตนซึ่งมีอินนูลินเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2553/cd446.1/5036837.pdf | |
thesis.degree.department | Institute of Nutrition | |
thesis.degree.discipline | Nutrition | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |