Responses of denv-immune, denv-non-immune and denv-naïve monocytes to denv-2 infection
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
(xii, 70 leaves) : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Suggested Citation
Worakorn Phumiphanjarphak (2024). Responses of denv-immune, denv-non-immune and denv-naïve monocytes to denv-2 infection. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91595
Title
Responses of denv-immune, denv-non-immune and denv-naïve monocytes to denv-2 infection
Alternative Title(s)
การตอบสนองของโมโนไซต์จากอาสาสมัครกลุ่มที่มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ ไม่มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ และไม่เคยเจอเชื้อ ต่อการติดเชื้อไวรัสเด็งกีซีโรไทป์ 2
Author(s)
Abstract
Dengue viruses (DENVs) are health threats to over two billion of people around the World. Infection by DENV could result in vascular leakage, hypovolemic shock, multi-organ dysfunction or, ultimately, death. Monocytes are one of the natural targets of the DENVs. Monocytes are recognized as one of the key players on symptomatic dengue by secreting cytokines that involve in inflammation and vascular leakage. To further investigate role of monocytes on development of symptomatic dengue, responses of DENV-experiencing monocytes and DENV-naïve monocytes to DENV-2 infection were compared. In this study, monocytes were obtained from three groups of donors that were DENV-immune donors, DENV-non-immune donors and DENV-naïve individuals. Classification of donors was based on whether they expressed detectable level of anti-Flavivirus antibodies (anti-DENVs antibody or anti-JEV antibody) detected by PRNT and hemagglutination inhibition test. These three sets of monocytes were either directly infected with DENV-2 or infected with DENV-enhancing antibody complexes. The replication efficiency of DENV-2 and production of cytokines known to involve in severe dengue (IL-6, IL-10, IL-1β and IFN-γ) were compared. We found the monocytes from these three groups of donors supported DENV replication at the same efficiency when comparing between the same route of infection. As expected, infection via DENV-enhancing antibody complexes increased replication efficiency compared to direct infection. This enhancing activity was independent to the levels of CD64 and CD32 expression on monocytes. For cytokine production, we found that DENV-naïve monocytes produced the lowest levels of IL-6, IL-1β and IFN-γ while DENV-immune monocytes secreted the highest levels of these cytokines in response to direct DENV infection. Moreover, infection via enhancing antibody significantly upregulated production of IL-10 from monocytes from all three groups while increasing production of IL-6 from DENV-immune and DENV-non-immune monocytes but not DENV-naïve monocytes. We further found that monocytes from these three groups did not differentiated into M1 macrophages in response to DENV infection.
ไวรัสเด็งกี่เป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคไข้เด็งกี่และไข้เลือดออกเด็งกี่ ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิต ยุงลาย (สกุล Aedes) เป็นพาหะของไวรัสและทำให้ไวรัสแพร่กระจายในหลายพื้นที่ในโลก อาการของโรคไข้เลือดออกเด็งกี่ได้แก่ สารน้ำรั่วออกจากหลอดเลือดฝอย ภาวะช็อก และการล้มเหลวของอวัยวะภายใน ในงานวิจัยนี้ เรามุ่งศึกษาการตอบสนองของเซลล์เม็ดเลือดขาวโมโนไซต์และมาโครฟาจ เนื่องจากกลุ่มเซลล์เหล่านี้เป็นเซลล์เป้าหมายของไวรัสและยังสามารถถูกติดเชื้อโดยการพึ่งพาแอติบอดี (ADE) นอกจากนี้เซลล์เหล่านี้มีบทบาทสำคัญในพยาธิกำเนิน (pathogenesis) เช่น กระตุ้นการเกิดการอักเสบ และการรั่วของสารนำจากหลอดเลือดฝอย งานวิจัยนี้แบ่งกลุ่มของอาสาสมัครตามการมีแอนติบอดีต่อไวรัสเด็งกี่และถิ่นที่อยู่ในพื้นที่ระบาดของไวรัส ออกเป็น 3 กลุ่มตาม ได้แก่ กลุ่ม immune non-immune และ naïve หลักจากที่โมโนไซต์เหล่านี้ถูกติดเชื้อโดยตรง หรือแบบ ADE เราวัดขีดความสามารถของเซลล์ในการผลิตไวรัส และการสร้าง cytokines ซึ่งเกี่ยวข้องกับโรคไข้เลือดออกเด็งกี่ ได้แก่ IL-6 IL-10 IL-1β และ IFN-γ ผลการทดลองพบว่า เซลล์ของอาสาสมัครทุกกลุ่มมีขีดความสามารถในการผลิตไวรัสที่เท่ากัน ไม่ว่าจะเป็นการติดเชื้อโดยตรง หรือแบบ ADE ยิ่งไปกว่านั้น การติดเชื้อแบบ ADE ยังเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตไวรัส นอกจากนั้น CD64 และ CD32 มีระดับที่ไม่แตกต่างกันในอาสาสมัครแต่ละกลุ่ม ผลการทดลองยังชี้ว่า อาสาสมัครกลุ่ม naïve ผลิต IL-6 IL-1β และ IFN-γ ได้น้อยกว่ากลุ่ม immune และ non-immune และเซลล์จากอาสาสมัครกลุ่ม immune สามารถผลิต cytokines เหล่านี้ในปริมาณที่สูงที่สุด การติดเชื้อแบบ ADE ยังเพิ่มการผลิต IL-10 ในอาสาสมัครทุกกลุ่ม อย่างไรก็ตาม การผลิต IL-6 เพิ่มขึ้นเฉพาะในกลุ่ม immune และ non-immune ท้ายที่สุด การติดเชื้อของไวรัสเด็งกี่ 2 ไม่ว่าด้วยวิธีใดจะยับยั้งการพัฒนาของโมโนไซต์ไปเป็นมาโครฟาจชนิด M1
ไวรัสเด็งกี่เป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคไข้เด็งกี่และไข้เลือดออกเด็งกี่ ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิต ยุงลาย (สกุล Aedes) เป็นพาหะของไวรัสและทำให้ไวรัสแพร่กระจายในหลายพื้นที่ในโลก อาการของโรคไข้เลือดออกเด็งกี่ได้แก่ สารน้ำรั่วออกจากหลอดเลือดฝอย ภาวะช็อก และการล้มเหลวของอวัยวะภายใน ในงานวิจัยนี้ เรามุ่งศึกษาการตอบสนองของเซลล์เม็ดเลือดขาวโมโนไซต์และมาโครฟาจ เนื่องจากกลุ่มเซลล์เหล่านี้เป็นเซลล์เป้าหมายของไวรัสและยังสามารถถูกติดเชื้อโดยการพึ่งพาแอติบอดี (ADE) นอกจากนี้เซลล์เหล่านี้มีบทบาทสำคัญในพยาธิกำเนิน (pathogenesis) เช่น กระตุ้นการเกิดการอักเสบ และการรั่วของสารนำจากหลอดเลือดฝอย งานวิจัยนี้แบ่งกลุ่มของอาสาสมัครตามการมีแอนติบอดีต่อไวรัสเด็งกี่และถิ่นที่อยู่ในพื้นที่ระบาดของไวรัส ออกเป็น 3 กลุ่มตาม ได้แก่ กลุ่ม immune non-immune และ naïve หลักจากที่โมโนไซต์เหล่านี้ถูกติดเชื้อโดยตรง หรือแบบ ADE เราวัดขีดความสามารถของเซลล์ในการผลิตไวรัส และการสร้าง cytokines ซึ่งเกี่ยวข้องกับโรคไข้เลือดออกเด็งกี่ ได้แก่ IL-6 IL-10 IL-1β และ IFN-γ ผลการทดลองพบว่า เซลล์ของอาสาสมัครทุกกลุ่มมีขีดความสามารถในการผลิตไวรัสที่เท่ากัน ไม่ว่าจะเป็นการติดเชื้อโดยตรง หรือแบบ ADE ยิ่งไปกว่านั้น การติดเชื้อแบบ ADE ยังเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตไวรัส นอกจากนั้น CD64 และ CD32 มีระดับที่ไม่แตกต่างกันในอาสาสมัครแต่ละกลุ่ม ผลการทดลองยังชี้ว่า อาสาสมัครกลุ่ม naïve ผลิต IL-6 IL-1β และ IFN-γ ได้น้อยกว่ากลุ่ม immune และ non-immune และเซลล์จากอาสาสมัครกลุ่ม immune สามารถผลิต cytokines เหล่านี้ในปริมาณที่สูงที่สุด การติดเชื้อแบบ ADE ยังเพิ่มการผลิต IL-10 ในอาสาสมัครทุกกลุ่ม อย่างไรก็ตาม การผลิต IL-6 เพิ่มขึ้นเฉพาะในกลุ่ม immune และ non-immune ท้ายที่สุด การติดเชื้อของไวรัสเด็งกี่ 2 ไม่ว่าด้วยวิธีใดจะยับยั้งการพัฒนาของโมโนไซต์ไปเป็นมาโครฟาจชนิด M1
Description
Microbiology (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Masters
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Microbiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University