Prevalence and distribution pattern of mood swings in Thai youth : school-based survey
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 160 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (D.N.S. (Nursing))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Suleemas Angsukiattitavorn Prevalence and distribution pattern of mood swings in Thai youth : school-based survey. Thesis (D.N.S. (Nursing))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92254
Title
Prevalence and distribution pattern of mood swings in Thai youth : school-based survey
Alternative Title(s)
ความชุกและรูปแบบการกระจายตัวของอารมณ์ไม่คงที่ในเยาวชนไทย : การสำรวจในโรงเรียน
Author(s)
Abstract
Mood Swings (MS) is a common feature widely discussed as a prodromal sub-symptom of mental problems and psychopathology. However, there is paucity of knowledge related MS. This school-based, cross-sectional study aimed to investigate the prevalence and distribution pattern of mood swings on personal determinants and contextual determinants among Thai youth. Questionnaires were provided by using smartphone to determine demographic data, personal determinants: family history of mental problems, bullying involvement, social media use, and substance use and contextual determinants: family structure and circumstance and school location. The participants were students (2,598) in high schools (1,382) and vocational schools (1,216) in Bangkok and central region of Thailand. Multi-stage stratified random sampling and the classroom cluster were used to determine the sample size. Analysis of variance, odd ratio, and hierarchical multiple logistic regression models were used for analysis. Results showed the prevalence of mood swings was 26.4%. It was most frequent among students in the vocational schools in Bangkok area (37.1%). The bivariate analysis showed a significance difference of distribution of MS on personal and contextual determinants. The distribution of MS could be found in adolescents who had risk behavior and residing in hazardous situation. The probabilities of MS in aged 15 - 24 years were: bullying involvement 36.9% (n=1,293), problematic social media use 55.9%(n=127), high expressed emotion in family 36.6%(n=1,256), and studying in vocational program 29.5%(n=1,216) and school located in Bangkok 32.4%(n=561). Also, substance use was probably a risk to MS such as cannabis 41.8%(n=55) and heroin 48.0%(n=25). In addition, the current study found significant hierarchical logistic regression analysis of female, family history of mental problems and illness, bullying involvement, problematic social media use, illicit substance use, high expressed emotion in family. Finally, an interaction between vocational program and metropolitan/ urban area impacted on mood swings (p < .05) when all included variables were controlled. The final model showed acceptable fit (X 2 =398.53, df=20, p=.106). Findings of the study indicate that the pattern of mood swings was associated with significant bullying involvement, problematic social media use, illicit substance use, family circumstance and school characteristics. The public need greater awareness of mood swings pattern and its alternative implications of MS screening. Moreover, early intervention for prevention of mental illness is needed.
อารมณ์ไม่คงที่เป็นลักษณะหนึ่งที่ถูกกล่าวถึงในผู้มีปัญหาสุขภาพจิต และผู้ป่วยจิตเวช อย่างไรก็ตามข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับภาวะอารมณ์ไม่คงที่ยังพบได้น้อยการศึกษาภาคตัดขวางในโรงเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความชุกและการกระจายตัวของอารมณ์ไม่คงที่ของเยาวชนไทย และปัจจัยที่สัมพันธ์กับอารมณ์ไม่คงที่ โดยปัจจัยด้านบุคคลประกอบด้วยเพศ ประวัติการ เจ็บป่วยทางจิตในครอบครัว การมีส่วนร่วมในพฤติกรรมเกเร การใช้สารเสพติด และการใช้โซเชียลมีเดีย และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมประกอบด้วยครอบครัว และโรงเรียน ผู้เข้าร่วมการศึกษาเป็นนักเรียน (2,598) ในโรงเรียนมัธยม (1,382) และโรงเรียนอาชีวศึกษา (1,216) ในกรุงเทพมหานครและภาคกลาง ผลการศึกษาพบความชุกของอารมณ์ไม่คงที่มีร้อยละ 26.4 อัตราการกระจายตัวมากที่สุดในโรงเรียนอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 37.1 ของผู้มีอารมณ์ไม่คงที่ทั้งหมด การวิเคราะห์การกระจายตัวและ ความน่าจะเป็นของภาวะอารมณ์ไม่คงที่ในเยาวชนที่อายุระหว่าง 15 - 24 ปี คือผู้มีส่วนร่วมในพฤติกรรมเกเร 36.9%(n=1293), ใช้โซเชียลมีเดียที่ไม่เหมาะสม 55.9%(n=127), อยู่ในครอบครัวที่มีการแสดงออกทางอารมณ์สูง 36.6%(n=1256), ศึกษาในหลักสูตรอาชีวศึกษา 29.5%(n=1216) และโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร 32.4%(n=561) และ ผู้ใช้สารเสพติดมีความน่าจะเป็นของภาวะอารมณ์ไม่คงที่ด้วย เช่นผู้ใช้กัญชา 41.8%(n=55) และผู้ใช้เฮโรอีน 48.0%(n=25) การวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกแบบลำดับชั้นพบว่า เพศหญิง เยาวชนที่มีสมาชิกในครอบครัวมีประวัติปัญหาทางจิตและเจ็บป่วยทางจิต ผู้ที่มีส่วนร่วมในพฤติกรรมเกเร ผู้ใช้โซเชียลมีเดียไม่เหมาะสม ผู้ใช้สารเสพติดประเภทผิดกฎหมาย ผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่มีการแสดงออกทางอารมณ์สูง และโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและเขตเมืองมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอารมณ์ไม่คงที่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) เมื่อควบคุมอิทธิจากตัวแปรอื่น ๆ ในสมการ และแบบจำลองสุดท้ายแสดงถึงความเหมาะสม (X 2 =398.53, df=20, p=.106). จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของอารมณ์ไม่คงที่ในผู้มีพฤติกรรมเกเร ผู้ใช้โซเชียลมีเดียไม่เหมาะสม ผู้ใช้สารเสพติดประเภทผิดกฎหมาย และผู้ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยทั้งในครอบครัวและ โรงเรียน ข้อมูลนี้สะท้อนถึงความสำคัญของการประเมินอารมณ์ไม่คงที่และการจัดบริการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในระยะเริ่มต้นต่อไป
อารมณ์ไม่คงที่เป็นลักษณะหนึ่งที่ถูกกล่าวถึงในผู้มีปัญหาสุขภาพจิต และผู้ป่วยจิตเวช อย่างไรก็ตามข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับภาวะอารมณ์ไม่คงที่ยังพบได้น้อยการศึกษาภาคตัดขวางในโรงเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความชุกและการกระจายตัวของอารมณ์ไม่คงที่ของเยาวชนไทย และปัจจัยที่สัมพันธ์กับอารมณ์ไม่คงที่ โดยปัจจัยด้านบุคคลประกอบด้วยเพศ ประวัติการ เจ็บป่วยทางจิตในครอบครัว การมีส่วนร่วมในพฤติกรรมเกเร การใช้สารเสพติด และการใช้โซเชียลมีเดีย และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมประกอบด้วยครอบครัว และโรงเรียน ผู้เข้าร่วมการศึกษาเป็นนักเรียน (2,598) ในโรงเรียนมัธยม (1,382) และโรงเรียนอาชีวศึกษา (1,216) ในกรุงเทพมหานครและภาคกลาง ผลการศึกษาพบความชุกของอารมณ์ไม่คงที่มีร้อยละ 26.4 อัตราการกระจายตัวมากที่สุดในโรงเรียนอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 37.1 ของผู้มีอารมณ์ไม่คงที่ทั้งหมด การวิเคราะห์การกระจายตัวและ ความน่าจะเป็นของภาวะอารมณ์ไม่คงที่ในเยาวชนที่อายุระหว่าง 15 - 24 ปี คือผู้มีส่วนร่วมในพฤติกรรมเกเร 36.9%(n=1293), ใช้โซเชียลมีเดียที่ไม่เหมาะสม 55.9%(n=127), อยู่ในครอบครัวที่มีการแสดงออกทางอารมณ์สูง 36.6%(n=1256), ศึกษาในหลักสูตรอาชีวศึกษา 29.5%(n=1216) และโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร 32.4%(n=561) และ ผู้ใช้สารเสพติดมีความน่าจะเป็นของภาวะอารมณ์ไม่คงที่ด้วย เช่นผู้ใช้กัญชา 41.8%(n=55) และผู้ใช้เฮโรอีน 48.0%(n=25) การวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกแบบลำดับชั้นพบว่า เพศหญิง เยาวชนที่มีสมาชิกในครอบครัวมีประวัติปัญหาทางจิตและเจ็บป่วยทางจิต ผู้ที่มีส่วนร่วมในพฤติกรรมเกเร ผู้ใช้โซเชียลมีเดียไม่เหมาะสม ผู้ใช้สารเสพติดประเภทผิดกฎหมาย ผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่มีการแสดงออกทางอารมณ์สูง และโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและเขตเมืองมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอารมณ์ไม่คงที่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) เมื่อควบคุมอิทธิจากตัวแปรอื่น ๆ ในสมการ และแบบจำลองสุดท้ายแสดงถึงความเหมาะสม (X 2 =398.53, df=20, p=.106). จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของอารมณ์ไม่คงที่ในผู้มีพฤติกรรมเกเร ผู้ใช้โซเชียลมีเดียไม่เหมาะสม ผู้ใช้สารเสพติดประเภทผิดกฎหมาย และผู้ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยทั้งในครอบครัวและ โรงเรียน ข้อมูลนี้สะท้อนถึงความสำคัญของการประเมินอารมณ์ไม่คงที่และการจัดบริการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในระยะเริ่มต้นต่อไป
Description
Nursing (Mahidol University 2019)
Degree Name
Doctor of Nursing Science
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Nursing
Degree Discipline
Nursing
Degree Grantor(s)
Mahidol University