Self-evaluation model of Sasjha Sasomsup network for life cycle morality development Trat province
Issued Date
2023
Copyright Date
2013
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 245 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Population Education))--Mahidol University, 2013
Suggested Citation
Naphat Prapasuchat Self-evaluation model of Sasjha Sasomsup network for life cycle morality development Trat province. Thesis (Ph.D. (Population Education))--Mahidol University, 2013. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89531
Title
Self-evaluation model of Sasjha Sasomsup network for life cycle morality development Trat province
Alternative Title(s)
รูปแบบการประเมินตนเองของเครือข่ายกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิตจังหวัดตราด
Author(s)
Abstract
This purpose of this study is to study the self-evaluation model and to study the related factors in the self-evaluation. The qualitative research, case study approach, was used. The SasjhaSasomsup Network for Life Cycle Morality Development of Trat province (SSN) was purposively selected and used as the unit of analysis. The target population consisted of key informants in SSN. The research instruments included guideline questions for in-depth interviews, focus group discussions and observation. The data were classifiable and synthesized by using ATLAS ti Version 6.2. The data were interpreted by inductive analysis combined with typological analysis and constant comparison. The result showed that the self-evaluation model of the SSN based on the Buddha-dhamma had two elements as follows: the self-evaluation perspective, and self-evaluation approaches. The perspectives on the SSN's self-evaluation consisted of a) the value of the self-evaluation was regarded as a tool for learning and development; and b) the main concepts of self-evaluation were the Fourfold Noble TruthsandKalyanamitta-dhamma7. The self-evaluation approaches were: a) team evaluator who played roles as a coordinator, a facilitator, a coach, a mentor and value judgement; b) evaluation topics: results for purposes, implementation process, and contexts; c) the 4 steps of self-evaluation process: review the performance (Dukkha), the origin of the problem (Samudaya), to identify and communicate the desired results (Nirodha), to process the solution method and develop the desired result (Magga); and d) self-evaluation tools: an evaluator, monthly meeting, visiting, potential development etc. The related factors in the SSN's self-evaluation referred to recognizing the importance of the evaluation, positive attitudes towards evaluation, a clear management system, good relationships within the team evaluator at each level, building confidence, evaluators' competency, the adequate number of evaluators, and the support from partners. The findings suggested that the SSN should constantly improve the competency of evaluators. The government sector should adopt a policy that would build in self-evaluation in every project. Any other small financial organization in the community should build an evaluation system into their management system and applied base in their specific context.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการประเมินตนเองและเงื่อนไขในการประเมินตนเองโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีกรณีศึกษา หน่วยในการวิเคราะห์ครั้งนี้คือเครือข่ายกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิตจังหวัดตราดที่คัดเลือกแบบเจาะจง โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาคือผู้ให้ข้อมูลหลักในเครือข่ายฯ และเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสนทนากลุ่มและการสังเกต นำข้อมูลมาวิเคราะห์ จัดระบบ จำแนกและเชื่อมโยงข้อมูลด้วยโปรแกรม ATAS Ti Version 6.2 นำมาสรุปตีความด้วยการวิเคราะห์แบบอุปนัยการจำแนกชนิดข้อมูล และการเปรียบเทียบข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการประเมินตนเองตามหลักพุทธธรรมของเครือข่าย ฯ ประกอบด้วย วิธีคิดเกี่ยวกับการประเมินตนเอง : ก)ให้คุณค่าต่อการประเมินในฐานะเครื่องมือสำหรับการพัฒนาและสร้างการเรียนรู้ ข) หลักคิดสำคัญในการประเมินตนเอง คือหลักพุทธธรรม (อริยสัจ 4 และกัลยาณมิตรธรรม 7) และ วิธีการประเมินตนเอง : ก)ผู้ประเมิน คือบุคคลภายในเครือข่ายฯ ผู้มีคุณสมบัติสอดคล้องกับหลักกัลยาณมิตร ธรรม ได้รับมอบหมายให้ทำบทบาทเป็นผู้ประสานงาน ผู้อำนวยความสะดวก พี่เลี้ยง ที่ปรึกษา และผู้ประมวลผลและตัดสินคุณค่า ข) ประเด็นการประเมิน : ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์, กระบวนการดำเนินงาน, สภาพบริบท, ค) กระบวนการประเมิน 4 ขั้นตอน :การทบทวนการดำเนินงาน (ทุกข์)การค้นหาสาเหตุ (สมุทัย) การสื่อสารผลการประเมินและ กำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการ (นิโรธ) และการกำหนดแนวทางแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนา(มรรค), และ ง)เครื่องมือในการประเมิน : ผู้ประเมิน, การประชุมประจำเดือน, การลงเยี่ยมพื้นที่, การพัฒนาศักยภาพ ฯลฯและพบว่า เงื่อนไขในการประเมินตนเองของเครือข่าย ฯ ได้แก่ ตระหนักในความสำคัญของการประเมิน, ทัศนะเชิงบวกต่อการประเมิน, ระบบการ บริหารจัดการที่ชัดเจน ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ประเมินแต่ละระดับ, ความต้องการสร้างความเชื่อมั่น, ศักยภาพของผู้ประเมิน, ความเพียงพอของผู้ประเมิน และการมีภาคีพันธมิตรช่วยสนับสนุน ข้อเสนอแนะ : เครือข่าย ฯ ควรมีการพัฒนาศักยภาพคณะผู้ประเมินอย่างสม่ำเสมอ หน่วยงานภาครัฐที่สนับสนุนด้านนโยบายควรจะมีนโยบายให้บรรจุระบบการประเมินภายในเข้าไปในทุกโครงการ สำหรับการประยุกต์ใช้ ในองค์กรการเงินชุมชนขนาดเล็กอื่น ๆ ควรออกแบบระบบการประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการและเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบริบท
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการประเมินตนเองและเงื่อนไขในการประเมินตนเองโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีกรณีศึกษา หน่วยในการวิเคราะห์ครั้งนี้คือเครือข่ายกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิตจังหวัดตราดที่คัดเลือกแบบเจาะจง โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาคือผู้ให้ข้อมูลหลักในเครือข่ายฯ และเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสนทนากลุ่มและการสังเกต นำข้อมูลมาวิเคราะห์ จัดระบบ จำแนกและเชื่อมโยงข้อมูลด้วยโปรแกรม ATAS Ti Version 6.2 นำมาสรุปตีความด้วยการวิเคราะห์แบบอุปนัยการจำแนกชนิดข้อมูล และการเปรียบเทียบข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการประเมินตนเองตามหลักพุทธธรรมของเครือข่าย ฯ ประกอบด้วย วิธีคิดเกี่ยวกับการประเมินตนเอง : ก)ให้คุณค่าต่อการประเมินในฐานะเครื่องมือสำหรับการพัฒนาและสร้างการเรียนรู้ ข) หลักคิดสำคัญในการประเมินตนเอง คือหลักพุทธธรรม (อริยสัจ 4 และกัลยาณมิตรธรรม 7) และ วิธีการประเมินตนเอง : ก)ผู้ประเมิน คือบุคคลภายในเครือข่ายฯ ผู้มีคุณสมบัติสอดคล้องกับหลักกัลยาณมิตร ธรรม ได้รับมอบหมายให้ทำบทบาทเป็นผู้ประสานงาน ผู้อำนวยความสะดวก พี่เลี้ยง ที่ปรึกษา และผู้ประมวลผลและตัดสินคุณค่า ข) ประเด็นการประเมิน : ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์, กระบวนการดำเนินงาน, สภาพบริบท, ค) กระบวนการประเมิน 4 ขั้นตอน :การทบทวนการดำเนินงาน (ทุกข์)การค้นหาสาเหตุ (สมุทัย) การสื่อสารผลการประเมินและ กำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการ (นิโรธ) และการกำหนดแนวทางแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนา(มรรค), และ ง)เครื่องมือในการประเมิน : ผู้ประเมิน, การประชุมประจำเดือน, การลงเยี่ยมพื้นที่, การพัฒนาศักยภาพ ฯลฯและพบว่า เงื่อนไขในการประเมินตนเองของเครือข่าย ฯ ได้แก่ ตระหนักในความสำคัญของการประเมิน, ทัศนะเชิงบวกต่อการประเมิน, ระบบการ บริหารจัดการที่ชัดเจน ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ประเมินแต่ละระดับ, ความต้องการสร้างความเชื่อมั่น, ศักยภาพของผู้ประเมิน, ความเพียงพอของผู้ประเมิน และการมีภาคีพันธมิตรช่วยสนับสนุน ข้อเสนอแนะ : เครือข่าย ฯ ควรมีการพัฒนาศักยภาพคณะผู้ประเมินอย่างสม่ำเสมอ หน่วยงานภาครัฐที่สนับสนุนด้านนโยบายควรจะมีนโยบายให้บรรจุระบบการประเมินภายในเข้าไปในทุกโครงการ สำหรับการประยุกต์ใช้ ในองค์กรการเงินชุมชนขนาดเล็กอื่น ๆ ควรออกแบบระบบการประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการและเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบริบท
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Population Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University