A ubiquitous learning support system for inquiry-based learning using a knowledge management approach in promoting web programming skills of undergraduate students
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 87 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Krittawaya Thongkoo A ubiquitous learning support system for inquiry-based learning using a knowledge management approach in promoting web programming skills of undergraduate students. Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91640
Title
A ubiquitous learning support system for inquiry-based learning using a knowledge management approach in promoting web programming skills of undergraduate students
Alternative Title(s)
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสสำหรับการเรียนรู้แบบสืบเสาะโดยใช้การจัดการความรู้เป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการพัฒนาโปรแกรมแบบเว็บของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
Author(s)
Abstract
Ubiquitous learning support systems have been developed and widely enhanced the value of instruction procedures in institutions in the past. However, during developing such systems, the mechanism for triggering students construct tenable knowledge in systematic way has not been proposed yet. In this study, concepts of inquiry-based learning process, knowledge management, and flipped learning were chosen as important strategies. A two-step between group experiments was conducted: the first study compared enhanced inquiry-based ubiquitous learning and conventional inquiry-based learning. 91 second year university students were involved to evaluate whether certain learning approaches affect students' performance. The first study has proven the value of the enhanced inquiry-based ubiquitous learning and yielded suggestions focusing on enabling students to communicate and construct a conception of programming with peer-to-peer and peer-to-teacher interactions during the in- and out-of-class learning process. Therefore, the second study developed ubiquitous learning support system basing on knowledge management model blended inquiry flipped classroom approach. 51 second year university students were involved to examine its effectiveness. The results of the two-part experiment showed that a) the proposed approach effectively enhanced the students' learning achievement, and b) the integration of knowledge management and inquiry-based learning approach into flipped classroom can improve students' learning performance in a web programming course.
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสได้ถูกพัฒนาและใช้เป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ อย่างกว้างขว้าง อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการสร้างกลไกลที่สามารถกระตุ้นการสร้างความรู้ที่ยั่งยืนของผู้เรียนอย่างเป็นระบบในระหว่างการพัฒนาระบบดังกล่าว ดังนั้นในการวิจัยนี้จึงได้ประยุกต์กรอบคิดเรื่องกระบวนการเรียนรู้แบบเสาะหาความรู้ การจัดการความรู้และการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านเพื่อออกแบบและพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัส โดยได้แบ่งการวิจัยออกเป็นสองระยะ ระยะแรกเป็นการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสโดยใช้กระบวนการเสาะหาความรู้แบบใหม่เป็นฐานและระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสโดยใช้กระบวนการเสาะหาความรู้แบบปกติเป็นฐาน และได้ทำการทดลองกับนักศึกษาชั้นปี ที่สอง จำนวน 91 คน เพื่อประเมินว่าวิธีจัดการเรียนการสอนดังกล่าวมีผลต่อผลการเรียนของผู้เรียนอย่างไร จากการศึกษาระยะแรกพบว่าระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสโดยใช้กระบวนการเสาะหาความรู้แบบใหม่เป็นฐานให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีกว่า และนำไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการทำให้ผู้เรียนสามารถสื่อสาร และสร้างกรอบคิดเรื่องการเขียนโปรแกรม โดยใช้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน และระหว่างผู้สอนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ด้วยเหตุนี้การวิจัยในระยะที่สองจึงเป็นการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสโดยใช้รูปแบบการจัดการความรู้ ผสมผสานกับทฤษฎีกระบวนการเรียนรู้แบบเสาะหาความรู้ และการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านเป็นฐานและได้ทำการทดลองกับนักศึกษาระดับชั้นปีที่สอง จำนวน 51 คน ผลจากการทดลองทั้งสองระยะแสดงให้ เห็นว่า ก) ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสที่พัฒนาขึ้นสามารถส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และ ข) การใช้ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสที่พัฒนาขึ้นด้วยกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านสามารถพัฒนาปรับปรุงความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนในวิชาการเขียนโปรแกรมแบบเว็บได้
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสได้ถูกพัฒนาและใช้เป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ อย่างกว้างขว้าง อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการสร้างกลไกลที่สามารถกระตุ้นการสร้างความรู้ที่ยั่งยืนของผู้เรียนอย่างเป็นระบบในระหว่างการพัฒนาระบบดังกล่าว ดังนั้นในการวิจัยนี้จึงได้ประยุกต์กรอบคิดเรื่องกระบวนการเรียนรู้แบบเสาะหาความรู้ การจัดการความรู้และการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านเพื่อออกแบบและพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัส โดยได้แบ่งการวิจัยออกเป็นสองระยะ ระยะแรกเป็นการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสโดยใช้กระบวนการเสาะหาความรู้แบบใหม่เป็นฐานและระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสโดยใช้กระบวนการเสาะหาความรู้แบบปกติเป็นฐาน และได้ทำการทดลองกับนักศึกษาชั้นปี ที่สอง จำนวน 91 คน เพื่อประเมินว่าวิธีจัดการเรียนการสอนดังกล่าวมีผลต่อผลการเรียนของผู้เรียนอย่างไร จากการศึกษาระยะแรกพบว่าระบบสนับสนุนการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสโดยใช้กระบวนการเสาะหาความรู้แบบใหม่เป็นฐานให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีกว่า และนำไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการทำให้ผู้เรียนสามารถสื่อสาร และสร้างกรอบคิดเรื่องการเขียนโปรแกรม โดยใช้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน และระหว่างผู้สอนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ด้วยเหตุนี้การวิจัยในระยะที่สองจึงเป็นการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสโดยใช้รูปแบบการจัดการความรู้ ผสมผสานกับทฤษฎีกระบวนการเรียนรู้แบบเสาะหาความรู้ และการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านเป็นฐานและได้ทำการทดลองกับนักศึกษาระดับชั้นปีที่สอง จำนวน 51 คน ผลจากการทดลองทั้งสองระยะแสดงให้ เห็นว่า ก) ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสที่พัฒนาขึ้นสามารถส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และ ข) การใช้ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสที่พัฒนาขึ้นด้วยกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านสามารถพัฒนาปรับปรุงความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนในวิชาการเขียนโปรแกรมแบบเว็บได้
Description
Science and Technology Education (Mahidol University 2018)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Mahidol University. Institute for Innovative Learning
Degree Discipline
Science and Technology Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University