Comparison of Antifungal susceptibility pattern among Candida species causing bloodstream infections by using Broth microdilution and Agar gradient diffusion methods
Issued Date
2556
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล
Suggested Citation
(2556). Comparison of Antifungal susceptibility pattern among Candida species causing bloodstream infections by using Broth microdilution and Agar gradient diffusion methods. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98938
Title
Comparison of Antifungal susceptibility pattern among Candida species causing bloodstream infections by using Broth microdilution and Agar gradient diffusion methods
Alternative Title(s)
การศึกษาเปรียบเทียบผลการทดสอบความไวของสารต้านเชื้อราใน Candida species ที่ก่อโรคติดเชื้อในกระแสเลือดโดยวิธี Broth microdilution และ วิธี Agar gradient diffusion
Abstract
Antifungal susceptibility patterns of Candida species play an important role in managing Candida
infections. Antifungal susceptibility testing has been standardized and commercially available for laboratories
unable to manually handle it. However, broth microdilution technique recommended as reference method by
CLSI is labor-intensive and very cumbersome for routine laboratory. On the other hand, agar gradient diffusion
commercially available as Etest is easier and ready to use. Therefore, the correlation of these two methods should
be determined. To compare antifungal susceptibility testing among Candida spp. causing bloodstream infections
by using broth microdilution (Sensititre YeastOne (YO10)) and agar gradient diffusion (Etest) methods, 162
isolates of Candida spp. were tested against anidulafungin, micafungin, caspofungin, posaconazole, voriconazole,
fluconazole and amphotericin B, after 24 hr and 48 hr of incubation. Overall, essential agreement (EA) between
YO10 and Etest was observed. Etest system showed ≥ 90% EA of MICs for all drugs tested and overall
categorical agreement (CA) was more than 95%. The categorical errors were approximately 3% major and 10%
minor errors for Etest after 24 hr and 48 hr incubation but minor errors accounted for the majority of all
categorical errors. Intraclass correlation coefficients (ICC) between YO10 and Etest after 24 hr and 48 hr
incubation against C. albicans, C. tropicalis, C. glabrata, C. parapsilosis, C. krusei, C. guilliermondii and C.
lusitaniae for all drugs tested were statistically significant (P<0.01)
รูปแบบความไวต่อยาต้านเชื้อราของเชื้อราแคนดิดาเป็นสิ่งสำคัญในการจัดการรักษาโรคติดเชื้อราแคนดิดา การทดสอบความไวต่อยาต้านเชื้อราของเชื้อราแคนดิดาจึงถูกทำให้เป็นมาตรฐานและมีชุดทดสอบหลากหลาย สำหรับห้องปฏิบัติการที่ไม่สามารถตรวจสอบได้เอง อย่างไรก็ตาม microbroth dilution ได้รับรองให้เป็นวิธี มาตรฐานโดย CLSI แต่ก็เป็นระบบที่ยุ่งยากสำหรับงานประจำในห้องปฏิบัติการ อีกนัยหนึ่ง Etest ซึ่งเป็นชุด ทดสอบที่ง่ายและพร้อมใช้งาน ดังนั้นความสัมพันธ์ของวิธีตรวจวัดเหล่านี้จึงควรได้รับการตรวจสอบ จึง ทำการศึกษาเปรียบเทียบการทดสอบความไวต่อยาต้านเชื้อราของเชื้อราแคนดิดาที่เป็นสาเหตุของโรคติดเชื้อใน กระแสเลือดระหว่างวิธี Broth microdilution (Sensitite Yeast One (YO10)) กับวิธี agar gradient diffusion (Etest) โดยนำเชื้อราแคนดิดา 162 สายพันธุ์มาทดสอบกับยาต้านเชื้อรา 7 ชนิดดังนี้ anidulafungin, micafungin, caspofungin, pozaconazole, voriconazole, fluconazole, amphotericin B (พิจารณาทั้งที่เพาะเชื้อเป็นเวลา 24 ชั่ว โมงและ 48 ชั่ว โมง) จากผลการทดสอบพบว่าระหว่างวิธี YO10 กับวิธี Etest มีผลความเข้ากันได้essential agreement (EA) ที่ดีอย่างเห็นได้ชัด เมื่อเปรียบเทียบระบบการตรวจวัดโดยวิธี Etest กับวิธี YO10 แล้วพบว่ามีค่า EA มากกว่า 90% ในการตรวจวัดกับยาต้านเชื้อราทุกชนิดและโดยรวมของความเข้ากันได้ของ category (categorical agreementหรือ CA) มากกว่า 95% เมื่อพิจารณาความคลาดเคลื่อนของ category (categorical errors) พบว่าเป็นความคลาดเคลื่อนหลัก (major errors) ความคลาดเคลื่อนรองสำหรับการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี Etest ที่ เวลา 24 ชัว โมงและ 48 ชั่ว โมง แต่พบความคลาดเคลื่อนรองเป็นส่วนใหญ่ในความคลาดเคลื่อนทั้งหมดเมื่อทดสอบ ทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์พบว่าการใช้วิธี YO10 และวิธี Etest โดยพิจารณาทั้งที่บ่มเพาะเชื้อเป็นเวลา 24 ชั่วโมง และ 48 ชั่วโมงในการทดสอบเชื้อ C. albicans, C. tropicalis, C. glabrata, C. parapsilosis, C. krusei, C. guilliermondii and C. lusitanae กับยาทุกตัวพบว่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง YO10 และ Etest เป็น นัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01)
การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกครั้งที่ 1. ณ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม. 2 เมษายน 2556
รูปแบบความไวต่อยาต้านเชื้อราของเชื้อราแคนดิดาเป็นสิ่งสำคัญในการจัดการรักษาโรคติดเชื้อราแคนดิดา การทดสอบความไวต่อยาต้านเชื้อราของเชื้อราแคนดิดาจึงถูกทำให้เป็นมาตรฐานและมีชุดทดสอบหลากหลาย สำหรับห้องปฏิบัติการที่ไม่สามารถตรวจสอบได้เอง อย่างไรก็ตาม microbroth dilution ได้รับรองให้เป็นวิธี มาตรฐานโดย CLSI แต่ก็เป็นระบบที่ยุ่งยากสำหรับงานประจำในห้องปฏิบัติการ อีกนัยหนึ่ง Etest ซึ่งเป็นชุด ทดสอบที่ง่ายและพร้อมใช้งาน ดังนั้นความสัมพันธ์ของวิธีตรวจวัดเหล่านี้จึงควรได้รับการตรวจสอบ จึง ทำการศึกษาเปรียบเทียบการทดสอบความไวต่อยาต้านเชื้อราของเชื้อราแคนดิดาที่เป็นสาเหตุของโรคติดเชื้อใน กระแสเลือดระหว่างวิธี Broth microdilution (Sensitite Yeast One (YO10)) กับวิธี agar gradient diffusion (Etest) โดยนำเชื้อราแคนดิดา 162 สายพันธุ์มาทดสอบกับยาต้านเชื้อรา 7 ชนิดดังนี้ anidulafungin, micafungin, caspofungin, pozaconazole, voriconazole, fluconazole, amphotericin B (พิจารณาทั้งที่เพาะเชื้อเป็นเวลา 24 ชั่ว โมงและ 48 ชั่ว โมง) จากผลการทดสอบพบว่าระหว่างวิธี YO10 กับวิธี Etest มีผลความเข้ากันได้essential agreement (EA) ที่ดีอย่างเห็นได้ชัด เมื่อเปรียบเทียบระบบการตรวจวัดโดยวิธี Etest กับวิธี YO10 แล้วพบว่ามีค่า EA มากกว่า 90% ในการตรวจวัดกับยาต้านเชื้อราทุกชนิดและโดยรวมของความเข้ากันได้ของ category (categorical agreementหรือ CA) มากกว่า 95% เมื่อพิจารณาความคลาดเคลื่อนของ category (categorical errors) พบว่าเป็นความคลาดเคลื่อนหลัก (major errors) ความคลาดเคลื่อนรองสำหรับการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี Etest ที่ เวลา 24 ชัว โมงและ 48 ชั่ว โมง แต่พบความคลาดเคลื่อนรองเป็นส่วนใหญ่ในความคลาดเคลื่อนทั้งหมดเมื่อทดสอบ ทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์พบว่าการใช้วิธี YO10 และวิธี Etest โดยพิจารณาทั้งที่บ่มเพาะเชื้อเป็นเวลา 24 ชั่วโมง และ 48 ชั่วโมงในการทดสอบเชื้อ C. albicans, C. tropicalis, C. glabrata, C. parapsilosis, C. krusei, C. guilliermondii and C. lusitanae กับยาทุกตัวพบว่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง YO10 และ Etest เป็น นัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01)
การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกครั้งที่ 1. ณ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม. 2 เมษายน 2556