ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวโน้มการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมาภายใต้การเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จังหวัดสมุทรสาคร
Issued Date
2567
Copyright Date
2562
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฏ, 183 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2562
Suggested Citation
วารุณี มียอด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวโน้มการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมาภายใต้การเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จังหวัดสมุทรสาคร . วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2562 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92052
Title
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวโน้มการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมาภายใต้การเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จังหวัดสมุทรสาคร
Alternative Title(s)
Factors influencing the trends of Myanmar labour migration under AEC : Samut Sakhon province
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจเลือกใช้แรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมาของผู้ประกอบการในจังหวัดสมุทรสาคร และ 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจเคลื่อนย้ายแรงงานของแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมาในจังหวัดสมุทรสาคร 3) ศึกษาสภาพปัญหาและแนวโน้มการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมาในจังหวัดสมุทรสาคร และ 4) แนวทางในการจัดการผลกระทบจากการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมาในจังหวัดสมุทรสาคร การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสานสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวแปรสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัยหรือเชิงตรรกะ ผลการศึกษา พบว่า ประเภทกิจการในด้านสังคมและการเมืองส่งผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจเลือกใช้แรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมาของผู้ประกอบการในจังหวัดสมุทรสาครมากที่สุด ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจเคลื่อนย้ายแรงงานของแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมา ได้แก่ อายุ สถานภาพ และระดับการศึกษา การหลบหนีเข้าเมืองและความขัดแย้งกับเจ้าของกิจการและเพื่อนร่วมงาน พบว่า เป็นสภาพปัญหาและแนวโน้มการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามสัญชาติเมียนมา แนวทางในการจัดการผลกระทบจากการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมา คือ ภาครัฐควรมีข้อกำหนดสำหรับกระบวนการรับแรงงานเข้ามาภายในประเทศ ตลอดจนการนำแรงงานเข้าสู่ระบบอย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยการจัดให้มีการขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติอย่างต่อเนื่องและมีการสรรหาแรงงานที่มีฝีมือเข้ามาทำงานในสถานประกอบการ
The purposes of this mixed methods research are to analyze 1) the factors influencing the trends of decision-making on employing Myanmar migrant workers in Samut Sakhon province and 2) the factors affecting the trends of their migration to this province. It also studies 3) the problems and trends of the migration of Myanmar migrant workers and 4) the guidelines for handling the effects of their migration to such province. Date were collected using a questionnaire from 399 migrant workers and in-depth interviews with 9 key informants. Percentages, standard deviation, t-test for independent samples, one-way analysis of variance (ANOVA), and analytic induction were used to analyze the data. The findings show that types of the business in light of social and political aspects affected the trends of decision-making on employing these workers by the entrepreneurs in the province the most. Age, status, and level of education were found to be the factors affecting the decision-making on the workers' immigration. Illegal immigration and conflict with business owners and colleagues appeared to be the problems and trends of their immigration. The guidelines for handling this immigration suggest that the government sectors regulate the procedures for importing workers to the country and allow to work legally. There should be a continuing intercountry worker registration and a recruitment process of employing skilled workers for the workplaces.
The purposes of this mixed methods research are to analyze 1) the factors influencing the trends of decision-making on employing Myanmar migrant workers in Samut Sakhon province and 2) the factors affecting the trends of their migration to this province. It also studies 3) the problems and trends of the migration of Myanmar migrant workers and 4) the guidelines for handling the effects of their migration to such province. Date were collected using a questionnaire from 399 migrant workers and in-depth interviews with 9 key informants. Percentages, standard deviation, t-test for independent samples, one-way analysis of variance (ANOVA), and analytic induction were used to analyze the data. The findings show that types of the business in light of social and political aspects affected the trends of decision-making on employing these workers by the entrepreneurs in the province the most. Age, status, and level of education were found to be the factors affecting the decision-making on the workers' immigration. Illegal immigration and conflict with business owners and colleagues appeared to be the problems and trends of their immigration. The guidelines for handling this immigration suggest that the government sectors regulate the procedures for importing workers to the country and allow to work legally. There should be a continuing intercountry worker registration and a recruitment process of employing skilled workers for the workplaces.
Description
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2562)
Degree Name
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล