The effect of the EF guideline for writing learning experience plans on the preschool teachers' teaching skills : a case study of Kindergarten schools in Bangkok

dc.contributor.advisorPanadda Thanasetkorn
dc.contributor.advisorPatcharin Seree
dc.contributor.authorPoonnasa Lekhawattananukit
dc.date.accessioned2024-01-10T01:27:17Z
dc.date.available2024-01-10T01:27:17Z
dc.date.copyright2019
dc.date.created2019
dc.date.issued2024
dc.descriptionHuman Development (Mahidol University 2019)
dc.description.abstractThe purpose of this study was to investigate the effect of the EF Guideline tool for guiding pre-kindergarten and kindergarten teachers to plan their classroom activities and environments for promoting children's EF skills on the teachers' knowledge of EF skills, teaching skills, and attitudes toward their own ability to promote the children's EF skills. The sample was selected by purposive sampling method. 8 teachers in the 4 to 6 - year - oldclassrooms in 4 kindergarten located in Bangkok were the sample of this research because they used to participate in the EF Training Program. A mixed method, including qualitative and quantitative research, was designed. In order to evaluate the teachers' knowledge of the EF skills, attitude toward their own abilities to use the EF Guideline for promoting their children's EF skills, and their skills in planning and implementing the learning experiences based on EF Guideline, the Wilcoxon matched pairs signed rank test was utilized the scores before and after participating the EF Guideline Program. In order to analyze how EF Guideline affects the teachers' knowledge, skills, and attitude, the methods for collecting the qualitative data were teacher interview and observation. The method for analyzing the qualitative data was content analysis. The results showed that after participating in the EF Guideline program, the teachers' post-test scores on on the knowledge of the EF skills and skills in writing the learning experience plan were higher than their pre-test scores (T = 2, T = 0, p < .05). The results from content analysis yielded two themes including the abilities to implement the learning experience plan and reflection on their own performance. The findings indicated that the EF Guideline Program had a positive impact on the teachers' knowledge of the EF skills, the skills in writing and implementing the learning experience plans
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของแนวทางการการเขียนแผนการจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัยต่อความรู้เรื่องทักษะสมอง EF ทักษะการสอนของครู เจตคติต่อตนเองในการส่งเสริมทักษะสมอง EF ให้แก่เด็กปฐมวัย แนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารเป็น เครื่องมือที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับครูที่ช่วยให้ครูวางแผนการส่งเสริมทักษะการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารในห้องเรียนกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้ประกอบด้วยครูอนุบาลทั้งหมด 8 คน มาจากโรงเรียนที่สอนเด็กอายุ 4-6 ปี จำนวน 4 โรงเรียนอนุบาล ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง งานวิจัยนี้เป็นรูปแบบผสมผสาน สำหรับงานวิจัยเชิงปริมาณ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ สถิตินอนพาราเมตริก โดยใช้การทดสอบอันดับที่มีเครื่องหมายกำกับของวิลคอกซัน ใช้เพื่อวิเคราะห์ค่าคะแนนเฉลี่ยในด้านความรู้ความเข้าใจในทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กของครู ด้านการรับรู้ความสามารถในตนเองของครู และด้านทักษะในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูตามแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการวิจัยสำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์เพื่อวิเคราะห์ผลของทักษะการจัดการเรียนการสอนของครูตามแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหาร ผลการวิจัยพบว่าหลังเข้าร่วมโครงการวิจัยคะแนนด้านความรู้ความเข้าใจในทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็ก และด้านทักษะในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารของครู เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเทียบกับคะแนนก่อนเข้าร่วมโครงการวิจัย (T=2, T=0 p < .05) ส่วนผลจากการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาให้ผล 2 ประเด็นคือทักษะของครูในการจัดการเรียนการสอน และการสะท้อนความคิดให้เห็นถึงประสิทธิภาพของตนอง จากงานวิจัย ชี้ให้เห็นว่าแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหาร มีผลต่อความรู้ความเข้าใจของครูในด้านทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็ก ทักษะของครูในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้และทักษะของครูในการสอนตามแนวทางการส่งเสริมการคิดเชิงบริหาร ในส่วนท้ายของรายงานการวิจัยนี้จะนำเสนอการอภิปรายผล ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยต่อไปในอนาคต
dc.format.extentx, 68 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2019
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92161
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectExecutive functions (Neuropsychology)
dc.subjectCognitive learning
dc.subjectChild psychology
dc.subjectPreschool children
dc.titleThe effect of the EF guideline for writing learning experience plans on the preschool teachers' teaching skills : a case study of Kindergarten schools in Bangkok
dc.title.alternativeผลของการใช้ EF guideline ในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ต่อทักษะการสอนของครูปฐมวัย : กรณีศึกษาของโรงเรียนอนุบาลในกรุงเทพมหานคร
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/549/5837621.pdf
thesis.degree.departmentNational Institute for Child and Family Development
thesis.degree.disciplineHuman Development
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files