The landing error scoring system between recreational and collegiate female athletes
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 60 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Nathasith Chutisira The landing error scoring system between recreational and collegiate female athletes. Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93324
Title
The landing error scoring system between recreational and collegiate female athletes
Alternative Title(s)
ค่าคะแนนความผิดพลาดในการลงสู่พื้นระหว่างนักกีฬาหญิงระดับสันทนาการและกีฬามหาวิทยาลัย
Author(s)
Abstract
Knee is one of the most body parts which can be injured from sport activities. The injury rate in female athletes is higher than male. Low skill athletes had higher injury rate when compared with more skilled athletes. The ACL injury is a serious injury which takes long time and high medical fee to recover. Thus, LESS was used to evaluate risks for ACL injury. The objective of this study was to find the relationship of LESS score between two groups of different skill level female athletes. Forty-four participants were recruited from female undergraduates of Mahidol University. Participants were divided into two groups due to their skill levels. Group I, Thirty participants (age 19.37 ± 1.07 yrs, height 163.40 ± 6.38 cm, weight 55.97 ± 8.37 kg, BMI 20.90 ± 2.27) and Group II, fourteen participants (age 19.29 ± 0.91 yrs, height 163.82 ± 4.82 cm, weight 58.22 ± 8.99 kg, BMI 21.66 ± 2.81). Participants did performance tests and LESS test. LESS videos were recorded by two cameras at 300 fps at frontal and sagittal plane. Pearson X2 test was used to find and independent between LESS score and skill levels. The significant level was set at p < 0.05 There was no independence between LESS score and skill levels (x2 = 8.899, df = 3, p = 0.031). In conclusion, risk for ACL injury was higher in low skill athletes regardless of physical performance.
ข้อเข่าเป็นหนึ่งในข้อต่อที่มีการบาดเจ็บเยอะที่สุดจากการเล่นกีฬา อัตราการบาดเจ็บใน นักกีฬาหญิงมีมากกว่านักกีฬาชาย นักกีฬาที่มีทักษะน้อยกว่า มีแนวโน้มที่จะเกิดการบาดเจ็บมากกว่าเมื่อ เปรียบเทียบกับนักกีฬาที่มีทักษะสูง การบาดเจ็บเอ็นไขว้หน้าเป็นอาการบาดเจ็บที่รุนแรง ใช้ระยะเวลาใน การรักษาและพักฟื้ นนาน รวมถึงค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง LESS จึงถูกนา มาใช้เพื่อประเมินความเสี่ยง ในการบาดเจ็บเอ็นไขว้หน้า การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนของ LESS และระดับของทักษะทางกีฬาของนักกีฬาหญิง ผู้เข้าร่วมการวิจัยทั้งหมด 44 คน จากนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้เข้าร่วมการวิจัยจะถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่มตามระดับทักษะทางกีฬา กลุ่มที่ 1 มีผู้เข้าร่วมการวิจัย 30 คน (อายุ 19.37 ± 1.07 ปี ส่วนสูง 163.40 ± 6.38 ซ.ม. น้าหนัก 55.97 ± 8.37 ก.ก. ดัชนีมวลกาย 20.90 ± 2.27) และกลุ่มที่ 2 มีผู้เข้าร่วมการวิจัย 14 คน (อายุ 19.29 ± 0.91 ปี ส่วนสูง 163.82 ± 4.82 ซ.ม. น้า หนัก 58.22 ± 8.99 ก.ก. ดัชนีมวลกาย 21.66 ± 2.81) ผู้เข้าร่วมการวิจัยทา การทดสอบสมรรถภาพทางกายและ LESS ในส่วนของการทดสอบ LESS จะมีการบันทึกข้อมูลด้วยกล้อง วิดีโอ 2 ตัว ที่ความเร็ว 300 ภาพต่อวินาที ทางด้านหน้าและด้านข้างของผู้เข้าร่วมการวิจัย การวิเคราะห์ทาง สถิติใช้ Pearson x2 ตั้งค่าระดับความเชื่อมั่นที่ p < 0.05 ผลการทดลองแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นอิสระต่อกันของคะแนน LESS และ ระดับของทักษะทางกีฬา (x2 = 8.899, df = 3, p = 0.031) สรุปได้ว่านักกีฬาที่มีทักษะทางการกีฬาที่น้อย กว่า มีความเสี่ยงในการบาดเจ็บเอ็นไขว้หน้าสูงกว่า โดยไม่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางร่างกาย
ข้อเข่าเป็นหนึ่งในข้อต่อที่มีการบาดเจ็บเยอะที่สุดจากการเล่นกีฬา อัตราการบาดเจ็บใน นักกีฬาหญิงมีมากกว่านักกีฬาชาย นักกีฬาที่มีทักษะน้อยกว่า มีแนวโน้มที่จะเกิดการบาดเจ็บมากกว่าเมื่อ เปรียบเทียบกับนักกีฬาที่มีทักษะสูง การบาดเจ็บเอ็นไขว้หน้าเป็นอาการบาดเจ็บที่รุนแรง ใช้ระยะเวลาใน การรักษาและพักฟื้ นนาน รวมถึงค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง LESS จึงถูกนา มาใช้เพื่อประเมินความเสี่ยง ในการบาดเจ็บเอ็นไขว้หน้า การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนของ LESS และระดับของทักษะทางกีฬาของนักกีฬาหญิง ผู้เข้าร่วมการวิจัยทั้งหมด 44 คน จากนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้เข้าร่วมการวิจัยจะถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่มตามระดับทักษะทางกีฬา กลุ่มที่ 1 มีผู้เข้าร่วมการวิจัย 30 คน (อายุ 19.37 ± 1.07 ปี ส่วนสูง 163.40 ± 6.38 ซ.ม. น้าหนัก 55.97 ± 8.37 ก.ก. ดัชนีมวลกาย 20.90 ± 2.27) และกลุ่มที่ 2 มีผู้เข้าร่วมการวิจัย 14 คน (อายุ 19.29 ± 0.91 ปี ส่วนสูง 163.82 ± 4.82 ซ.ม. น้า หนัก 58.22 ± 8.99 ก.ก. ดัชนีมวลกาย 21.66 ± 2.81) ผู้เข้าร่วมการวิจัยทา การทดสอบสมรรถภาพทางกายและ LESS ในส่วนของการทดสอบ LESS จะมีการบันทึกข้อมูลด้วยกล้อง วิดีโอ 2 ตัว ที่ความเร็ว 300 ภาพต่อวินาที ทางด้านหน้าและด้านข้างของผู้เข้าร่วมการวิจัย การวิเคราะห์ทาง สถิติใช้ Pearson x2 ตั้งค่าระดับความเชื่อมั่นที่ p < 0.05 ผลการทดลองแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นอิสระต่อกันของคะแนน LESS และ ระดับของทักษะทางกีฬา (x2 = 8.899, df = 3, p = 0.031) สรุปได้ว่านักกีฬาที่มีทักษะทางการกีฬาที่น้อย กว่า มีความเสี่ยงในการบาดเจ็บเอ็นไขว้หน้าสูงกว่า โดยไม่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางร่างกาย
Description
Sports Science (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Sports Science and Technology
Degree Discipline
Sports Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University