อาสาสมัครกู้ชีพ : ชาติพันธุ์วรรณนารถพยาบาล ผัสสะและประสบการณ์เชิงศีลธรรม
dc.contributor.advisor | ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ | |
dc.contributor.advisor | ณรงค์ อาจสมิติ | |
dc.contributor.author | สุมนมาลย์ สิงหะ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-05T02:02:18Z | |
dc.date.available | 2024-01-05T02:02:18Z | |
dc.date.copyright | 2561 | |
dc.date.created | 2567 | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.description | วัฒนธรรมศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561) | |
dc.description.abstract | งานวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ต้องการวิเคราะห์ประสบการณ์อาสาสมัครกู้ชีพภายใต้นโยบายความปลอดภัยสาธารณะและการบริการแพทย์ฉุกเฉินในสังคมไทย (พ.ศ. 2551-2560) ส่งผลให้เกิดการกระจายตัวของคุณค่า ความรู้และชีวิตทางสังคมของอุปกรณ์ช่วยชีวิต ในมิติการเมืองและวัฒนธรรมชุมชนที่ทำงานบริบาลฉุกเฉินอย่างกว้างขวาง โดยมีข้อถกเถียงต่อการก่อรูปทางจริยศาสตร์เชิงปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของอาสาสมัครกู้ชีพ ผ่านการไหลเวียน ทัศนะมิติ และการตีความของเครือข่ายปฏิบัติการ ซึ่งมีความหมายแตกต่างระหว่างอุดมการณ์ของสถาบัน มูลนิธิ และ ท้องถิ่น และกลายเป็นแหล่งอ้างอิงเพื่อการจำแนกแยกแยะการบริบาลแก่ประชากรอย่างมีพลวัต ทั้งลักษณะผนวกรวมและกีดกัน ก่อให้เกิด "ภาวะอิหลักอิเหลื่อ" ระหว่างมนุษยธรรมเชิงการแพทย์และศีลธรรมท้องถิ่น ผู้วิจัยใช้วิธีการชาติพันธุ์วรรณนารถพยาบาลเพื่อทำความเข้าใจกระบวนการผลิตวิจารณญาณของสังคม และสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมกับทีมอาสาสมัครกู้ชีพระยะเวลา 12 เดือน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ข้อค้นพบงานวิจัย อาสาสมัครกู้ชีพอยู่กับประสบการณ์ยึดโยงกับเวลาเป็นกิจวัตร พื้นที่ และนัยปฏิสัมพันธ์เชื่อมต่อระหว่างอาสาสมัครกู้ชีพ ผู้ป่วย ผู้พบเหตุ ตำรวจ เจ้าหน้าที่ฉุกเฉินและภาวะวิทยาของการเมืองแห่งชีวิต จากเรื่องเล่าอาสาสมัครแสดงการบริบาลฉุกเฉินเป็นการยืนยันตัวตนทางศีลธรรมของปัจเจก และต้องการยืนยันตัวตนใหม่ๆ ในชีวิตประจำวัน งานศึกษานี้ขยับขยายการอภิปรายถึงสิทธิพลเมือง และนวัตกรรมใหม่ๆ ของการบริบาลภายใต้รัฐไทย | |
dc.description.abstract | This thesis aims to analyze the experience of rescue volunteers under the public safety policy and emergency medical services in Thai society (2551-2560 BC), leading to the distribution of value, knowledge and social life of aid kit in the larger political and cultural communities in which they are embedded-care in rescue. The argument of emergency care experience shapes the rescue volunteers' daily practical ethics in terms of circulation, perspectives and interpretation of operational network, which differed in the meaning of ideology among institutions, foundations and locals. The difference in meaning became referential source to categorize a dynamic care of population regarding both integration and exclusion, resulting in dilemma situation between medical humanitarianism and local morality. The researcher employed ethnographic method of ambulance in this research in order to understand the sensorial production of the social and participant observational method in cooperation with rescue volunteers during 12 months in districts of Bangkok. Findings show that the rescue volunteers lived experiences bounded to habitual practice embedded-care in rescue, sense and meaning of interaction among rescue, patients, attendance, police and professional and ontological formations in politic of life. The case of the rescue volunteers reveals to emergency care as ordinary moral identification, yet requiring self-identification in daily life. This study is new substantive addition to citizenship rights, and new innovations of state care | |
dc.format.extent | ก-ฎ, 273 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนที่ | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91891 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | อาสาสมัครในงานบริการสังคม -- ไทย | |
dc.subject | ชาติพันธุ์วิทยา | |
dc.title | อาสาสมัครกู้ชีพ : ชาติพันธุ์วรรณนารถพยาบาล ผัสสะและประสบการณ์เชิงศีลธรรม | |
dc.title.alternative | Rescue volunteers : ambulance ethnography, sense, and moral experiences | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/544/5636447.pdf | |
thesis.degree.department | สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย | |
thesis.degree.discipline | วัฒนธรรมศึกษา | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |