Midpoint and endpoint life cycle impact assessment and eco-efficiency of a chemical drum produced from virgin and recycled HDPE pellets
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 184 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Kanapot Mahasaro Midpoint and endpoint life cycle impact assessment and eco-efficiency of a chemical drum produced from virgin and recycled HDPE pellets. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93281
Title
Midpoint and endpoint life cycle impact assessment and eco-efficiency of a chemical drum produced from virgin and recycled HDPE pellets
Alternative Title(s)
การประเมินวัฎจักรชีวิตผลกระทบขั้นกลางถึงขั้นปลายและประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของการผลิตถังบรรจุภัณฑ์เคมีจากเม็ดพลาสติก HDPE ใหม่และรีไซเคิล
Author(s)
Abstract
The objectives of this research were to conduct midpoint to endpoint life cycle impact assessment and to evaluate eco-efficiency of two HDPE plastic drum production processes, which used virgin pellets (formula 1) and recycled pellets (formula 2) as the raw materials. The functional unit was a 20 liter plastic drum at 1.10 kg weight. The environmental accounting data was collected from a plastic drum factory in Phetchaburi province during June 2014 to July 2015. The assessment was carried out by ReCiPe2008 method. The assessment revealed that the production process of formula 2 with mixed virgin and recycled plastic pellets had lower midpoint and endpoint impacts than the production process of formula 2 with only virgin plastic pellets. The total midpoint impact scores for formula 2 and 1 were 5.58E-03 and 6.28E-03, respectively. The highest impacts of formula 1 and 2 were on fossil depletion, which were 59.1% and 50.8% of the total midpoint impacts, respectively. The total endpoint impact score of formula 2 and 1 production process were 0.9855Pt and 1.1453Pt, respectively. The highest impacts of formula 1 and 2 were on damage of natural resources, which were 54.0% and 48.1%, respectively. The major environmental impact was occurred during the stages of raw material obtainment and drum recycle. The evaluation of eco-efficiency indicated that formula 2 production process (0.35 Kg/KgOileq) had higher values than formula 1 (0.25 Kg/KgOil-eq). The results showed that formula 2 plastic drum production process was appropriated for the production development by the manufacturer. The process could be applied for increasing the production efficiency and at the same time reducing the environmental impacts.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นกลางถึงขั้นปลายและประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของกระบวนการผลิตถังพลาสติกโพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง 2 ชนิด ที่ใช้เม็ดพลาสติกใหม่ (สูตร 1) และเม็ดพลาสติกรีไซเคิลเป็นส่วนผสม (สูตร 2) กำหนดให้หน่วยการทำงานคือ ถังพลาสติกขนาด 20 ลิตร จำนวน 1 ใบ น้ำหนัก 1.10 กิโลกรัม ดำเนินการเก็บข้อมูลบัญชีสิ่งแวดล้อมจากโรงงานผลิตถังพลาสติกแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเพชรบุรี ระหว่างเดือน มิถุนายน 2557 ถึงเดือน กรกฎาคม 2558 ทำการประเมินตามวิธีของ ReCiPe2008 ผลการประเมินพบว่ากระบวนการผลิตถังพลาสติกด้วยสูตร 2 ที่ใช้เม็ดพลาสติกบริสุทธิ์ผสมกับเม็ดพลาสติกรีไซเคิลส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมขั้นกลาง และขั้นปลายน้อยกว่ากระบวนการผลิตด้วยสูตร 1 ที่ใช้เม็ดพลาสติกบริสุทธ์ิเพียงอย่างเดียว โดยกระบวนการผลิตด้วยสูตร 2 และ 1 ผลกระทบขั้นกลางรวม มีค่า 5.58E-03 และ 6.28E-03 ตามลำดับ โดยผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิตด้วยสูตร 1 และ 2 มากที่สุดคือ การลดลงของเชื้อเพลิงฟอสซิล คิดเป็นร้อยละ 59.1 และ 50.9 ของผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นกลางทั้งหมด ส่วนผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นปลายรวมโดยกระบวนการผลิตด้วยสูตร 2 และ 1 มีค่า 0.9855Pt และ 1.1453Pt ตามลำดับ ซึ่งกระบวนการผลิตด้วยสูตร 1 และ 2 ก่อให้เกิดความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมด้านทรัพยากรธรรมชาติมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 54.0 และ 48.1 ของผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นปลายทั้งหมด ซึ่งผลกระทบสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่เกิดจากขั้นตอนการได้มาซึ่งวัตถุดิบและการนำถังกลับมาใช้ใหม่ ผลการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจพบว่ากระบวนการผลิตด้วยสูตร 2 (0.35 Kg/Kg.oil-eq) มีค่ามากกว่าสูตร 1 (0.25 Kg/Kg.oil-eq) ผลการศึกษาบ่งชี้ว่าการผลิตถังพลาสติกด้วยสูตร 2 มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้พัฒนากระบวนการผลิตเพื่อให้ ผู้ประกอบการสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้พร้อมกัน
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นกลางถึงขั้นปลายและประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของกระบวนการผลิตถังพลาสติกโพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง 2 ชนิด ที่ใช้เม็ดพลาสติกใหม่ (สูตร 1) และเม็ดพลาสติกรีไซเคิลเป็นส่วนผสม (สูตร 2) กำหนดให้หน่วยการทำงานคือ ถังพลาสติกขนาด 20 ลิตร จำนวน 1 ใบ น้ำหนัก 1.10 กิโลกรัม ดำเนินการเก็บข้อมูลบัญชีสิ่งแวดล้อมจากโรงงานผลิตถังพลาสติกแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเพชรบุรี ระหว่างเดือน มิถุนายน 2557 ถึงเดือน กรกฎาคม 2558 ทำการประเมินตามวิธีของ ReCiPe2008 ผลการประเมินพบว่ากระบวนการผลิตถังพลาสติกด้วยสูตร 2 ที่ใช้เม็ดพลาสติกบริสุทธิ์ผสมกับเม็ดพลาสติกรีไซเคิลส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมขั้นกลาง และขั้นปลายน้อยกว่ากระบวนการผลิตด้วยสูตร 1 ที่ใช้เม็ดพลาสติกบริสุทธ์ิเพียงอย่างเดียว โดยกระบวนการผลิตด้วยสูตร 2 และ 1 ผลกระทบขั้นกลางรวม มีค่า 5.58E-03 และ 6.28E-03 ตามลำดับ โดยผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิตด้วยสูตร 1 และ 2 มากที่สุดคือ การลดลงของเชื้อเพลิงฟอสซิล คิดเป็นร้อยละ 59.1 และ 50.9 ของผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นกลางทั้งหมด ส่วนผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นปลายรวมโดยกระบวนการผลิตด้วยสูตร 2 และ 1 มีค่า 0.9855Pt และ 1.1453Pt ตามลำดับ ซึ่งกระบวนการผลิตด้วยสูตร 1 และ 2 ก่อให้เกิดความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมด้านทรัพยากรธรรมชาติมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 54.0 และ 48.1 ของผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นปลายทั้งหมด ซึ่งผลกระทบสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่เกิดจากขั้นตอนการได้มาซึ่งวัตถุดิบและการนำถังกลับมาใช้ใหม่ ผลการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจพบว่ากระบวนการผลิตด้วยสูตร 2 (0.35 Kg/Kg.oil-eq) มีค่ามากกว่าสูตร 1 (0.25 Kg/Kg.oil-eq) ผลการศึกษาบ่งชี้ว่าการผลิตถังพลาสติกด้วยสูตร 2 มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้พัฒนากระบวนการผลิตเพื่อให้ ผู้ประกอบการสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้พร้อมกัน
Description
Technology of Environmental Management (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmental Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University